นพ.มานิตย์ วัชร์ชัยนันท์
วันอาทิตย์ที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2557
เมื่อเป็นโรคเบาหวาน (Diabetes) : How often do I take insulin?
Nov. 10, 2013
เมื่อเป็นโรคเบาหวาน และจำเป็นต้องรับการรักษาด้วย “อินซุลิน”
มีรูปแบบสามประการ ดังต่อไปนี้:
1. Twice daily doses of short and intermediate-acting insulin
เป็นการให้อินซูลินสองครั้ง นั้นคือให้ก่อนอาหารเช้า และอีก
ครั้งให้ก่อนอาหารเย็น
อินซูลินออกฟทธิ์สั้น (short acting insulin) จะทำหน้าที่จะ
การกับน้ำตาลในเลือดซึ่งมาจากอาหารเช้า และอาหารเย็น
อินซูลินออกฤทธิ์ระดับกลาง (intermediate-acting insulin)
จะจัดการกับระดับน้ำตาลในตอนบ่ายหลังเที่ยง และในตอน
กลางคืน
Go to ....https://www.accu-chekinsulinpumps.com
อินซูลินร่วม (pre-mixed insulin) เป็นยาที่เหมาะสำหรับ
การใช้อินซูลินในรูปแบบดังกล่าว
2. Three times a day dosing
ให้อินซูลินออกฤทธิ์สั้น และออกฤทธิ์ขนาดกลาง (short-
Acting & intermediate acting insulin) ก่อนรับอาหารเช้า
ให้อินซูลิน (short- acting insulin) ก่อนรับอาหารเย็น
ให้อินซูลินออกฤทธิ์กลาง (intermediated-acting insulin)
ก่อนอาหารเย็น จะทำหน้าที่ควบคุมน้ำตาลในช่วงกลางคืน
3. Multiple daily doses
ให้อินซูลินออกฤทธิ์สั้น (short-acting insulin) ก่อนอาหาร
ทุกมื้อ
ให้ อินซูลินออกฤทธิ์ปานกลาง (intermediate) หรือออกฤทธิ์
ยาว (long-acting insulin) ก่อนนอน เพื่อควบคุมระดับน้ำตาล
ในช่วงกลางคืน
นอกจากวิธีการให้อินซูลินตามรูปแบบที่กล่าวมาแล้ว...
ยังปรากฏว่า มีรูปแบบอื่น ๆ ที่เราควรทราบ นั้นคือ ในคนสูงอายุที่เป็น
โรคเบาหวานบางคน สามารถควบคุมด้วยอินซูลินฉีดเพียงวันละครั้ง
โดยการให้ Long-acting insulin
Go t
อีกรูปแบบหนึ่ง คือการให้อินซูลินด้วยวิธี Pump treatment
ซึ่งจะใช้ในคนหนุ่มที่เป็นโรคเบาหวานเสียเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งเป็นวิธีการ
ให้อินซูลินผ่านน้ำเกลือหยดเข้าเส้นเลือดดำสู่ร่างกายตลอดเวลา
และมีการเพิ่มขนาดอินซูลินในตอนรับทานอาหาร (extra insulin doses)
ในการควบคุมการให้อินซูลินด้วยวิธี pump therapy...
เขาจะใช้ fusion pump เป็นตัวควบคุมว่า คนไข้ควรได้รับอินซูลินเท่าใด
เป็นวิธีการที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี โดยเฉพาะในคนเป็น
เบาหวานผู้ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ด้วยวิธี multiple daily injection
of insulin หรือใช้ในกรณีที่มีปัญหาเรื่อง hypoglycemia
อีกวิธี...คือ การฉีดหลายครั้ง multiple injections
ซึ่งได้รับความนิยมถูกนำมาใช้ในการรักษาบ่อยขึ้น ด้วยเหตุว่า มันสามารถ
เลียนแบบธรรมชาติของร่างกายที่ทำหน้าที่ปล่อยอินซูลินออกมา
และรูปแบบการใช้อินซูลิน และขนาดของอินซูลิน จะถูกปรับขนาดโดยขึ้น
กับคนไข้แต่ละราย ซึ่งท่าน และแพทย์แต่จะทำหน้าที่ค้นหาวิธีที่ดีที่สุด
สำหรับควบคุมระดับน้ำตาล
http://www.netdoctor.co.uk/health_advice/facts/diabetesinsulin.htm
Rapid-Acting Insulin :ควบคุมจังหวะการใช้ให้ถูกต้อง
Aug. 17, 2013
ท่านเคยได้ยินคำพูดต่อไปนี้มาหรือไม่ ?
“ฉันคิดว่า...ฉันทำทุกอย่างถูกต้องทุกประการ
แต่ทำไมผลจึงออกมาเป็นเช่นนี้ได้ ?”
ประโยคอย่างนี้...มันก็เกิดกับคนที่เป็นโรคเบาหวานเช่นกัน...
โดยเขาเชื่อว่า เขาทำการรักษาโรคเบาหวานได้อย่างถูกต้อง แต่
ดูเหมือนว่า เขาไม่สามารถทำให้ระดับน้ำตาลลดลงลงสู่เป้าหมาย
ได้....ทำไม ?
จากกรณีหลัง มีสาเหตุอย่างหนึ่งซึ่งอาจทำให้เขาไม่ได้คิดถึงว่า
เขาจะฉีด Rapid-acting insulin เพื่อจัดการกับอาหารที่รับทาน
อย่างไรเวลาใหนก็อาจเป็นได้ (bolus insulin)
นับตั้งแต่มี Rapid-acting insulin ได้วางตลาดเพื่อนำมาใช้ใน
การรักษา (1996) โรคเบาหวาน ผู้เชี่ยวชาญหลายนายแนะนำว่า
ควรฉีดอินซูลินตัวอังกล่าวภายในเวลา 15 นาทีหลังจาก
รับทานอาหาร ซึ่งหมายความว่า เป็นเวลาใหนก็ได้ตั้งแต่ 15
นาทีก่อนรับทานอาหาร จนถึง 15 นาที่หลังการรับประทาน
อาหาร....
จากการแนะนำดังกล่าว ได้อาศัยพื้นฐานของความจริงว่า
Rapid acting insulin สามารถดูดซึมเขาสู่กระแสโลหิตได้อย่างรวดเร็ว
และเริ่มลดระดับน้ำตาลได้อย่างรวดเร็ว
อย่างไรก็ตาม หลังหลายปีผ่านไป จากการสังเกตุผลที่เกิดขึ้นพบว่า
คำแนะนำดังกล่าวไม่น่าจะเหมาะกับคนเป็นเบาหวานทุกรายไป
จึงมีการปรับให้เป็นปัจจุบันเพื่อให้ได้ผลดียิ่งขึ้น
>> NEXT : Rapid Acting Inslin Part 2: Insulin Basics
ท่านเคยได้ยินคำพูดต่อไปนี้มาหรือไม่ ?
“ฉันคิดว่า...ฉันทำทุกอย่างถูกต้องทุกประการ
แต่ทำไมผลจึงออกมาเป็นเช่นนี้ได้ ?”
ประโยคอย่างนี้...มันก็เกิดกับคนที่เป็นโรคเบาหวานเช่นกัน...
โดยเขาเชื่อว่า เขาทำการรักษาโรคเบาหวานได้อย่างถูกต้อง แต่
ดูเหมือนว่า เขาไม่สามารถทำให้ระดับน้ำตาลลดลงลงสู่เป้าหมาย
ได้....ทำไม ?
จากกรณีหลัง มีสาเหตุอย่างหนึ่งซึ่งอาจทำให้เขาไม่ได้คิดถึงว่า
เขาจะฉีด Rapid-acting insulin เพื่อจัดการกับอาหารที่รับทาน
อย่างไรเวลาใหนก็อาจเป็นได้ (bolus insulin)
นับตั้งแต่มี Rapid-acting insulin ได้วางตลาดเพื่อนำมาใช้ใน
การรักษา (1996) โรคเบาหวาน ผู้เชี่ยวชาญหลายนายแนะนำว่า
ควรฉีดอินซูลินตัวอังกล่าวภายในเวลา 15 นาทีหลังจาก
รับทานอาหาร ซึ่งหมายความว่า เป็นเวลาใหนก็ได้ตั้งแต่ 15
นาทีก่อนรับทานอาหาร จนถึง 15 นาที่หลังการรับประทาน
อาหาร....
จากการแนะนำดังกล่าว ได้อาศัยพื้นฐานของความจริงว่า
Rapid acting insulin สามารถดูดซึมเขาสู่กระแสโลหิตได้อย่างรวดเร็ว
และเริ่มลดระดับน้ำตาลได้อย่างรวดเร็ว
อย่างไรก็ตาม หลังหลายปีผ่านไป จากการสังเกตุผลที่เกิดขึ้นพบว่า
คำแนะนำดังกล่าวไม่น่าจะเหมาะกับคนเป็นเบาหวานทุกรายไป
จึงมีการปรับให้เป็นปัจจุบันเพื่อให้ได้ผลดียิ่งขึ้น
>> NEXT : Rapid Acting Inslin Part 2: Insulin Basics
Rapid-Acting Insulin (ควบคุมเวลาการใช้ให้ถูกต้อง) Part 2: Insulin basics
Nov. 17,2013
ในการรักษาเบาหวาน...
เป้าหมายของรักษาด้วยยาฉีด Insulin (Insulin therapy) คือการ
ให้อินซูลินแกคนไข้ โดยหวังว่า อินซูลินที่ให้แก่คนเป็นเบาหวาน
แล้ว มันจะออกฤทธิ์เหมือนกับคนไม่เป็นเบาหวานใช้อินซูลินตาม
ปกติ
Basal insulin.
โดยทั่วไป ตับอ่อนของคนเราจะหลั่ง “อินซูลิน” ออกมาใน
ใน 24 ชั่วโมงในปริมาณไม่มาก โดยเฉลี่ยรางกายจะผลิต
ฮอร์โมนตัวดังกล่าวประมาณ หนึ่งยูนิต ต่อชั่วโมง โดยไม่
คำนึงถึงว่าท่านจะรับประทานอาหารหรือไม่
Bolus insulin.
เมื่อคนเรารับานอาหาร ร่างกายของเรา (ตับอ่อน) จะตอบ
สนองต่อาหารที่เรารับทานเข้าไปด้วยการสร้างอินซูลินใน
ปริมาณมาก และจะถูกปล่อยออกมาเป็นสองระยะ (two-
Phases boluses)
ระยะแรก (First phase) จะมีการหลั่งอินซูลินออกมาภาย
ในไม่กี่นาทีหลังจากเราเคี้ยงอาหาร และสิ้นสุดเอาประมาณ
15 นาที ระยะที่สอง เป็นการหลังออกมาอย่างช้าๆ อย่างต่อ
เนื่องเป็นเวลาชั่วโมงครึ่งถึงสามชั่วโมง โดยทีปริมาณของ
อินซูลินจะสัมพันธ์กับระดับน้ำตาลที่เพิ่มขึ้นภายหลังการรับ
ประทานอาหาร
ในคนที่มีการผลิตอินซูลินตามปกติ...
การสร้าง และการหลั่งอินซูลินจะอยู่ภายใต้ระบบ feedback...
ซึ่งทำหน้าที่รักษาระดับน้ำตาลในกระแสเลือดให้อยู่ในระหว่าง 70 mg/dL
และ 140 mb/dL ตลอดเวลา โดยไม่ต้องคำนึงว่า ท่านจะรับทานอาหาร
หรือไม่ หรือว่าออกกำลังกายหรือไม่ ?
ส่วนในระหว่างที่คนเราไม่สบาย (illness)...
หรือในระหว่างที่ร่างกายต้องการอินซูลิน ตับอ่อนจะสร้างฮอร์โมนดังกล่าว
เพิ่มขึ้น
สำหรับคนที่มีตับอ่อน ซึ่งไม่สามารถหลั่งอินซูลินได้ตามปกติ
จำเป็นต้องได้รับการฉีดอินซูลิน (insulin injection or insulin pump)
เช่น คนเป็นเบาหวานประเภทหนึ่ง (T1DM) ซึ่งตับอ่อนไม่สามารถสร้าง
อินซูลิน หรือไม่มีอินซูลินเลย จะต้องได้รับอินซูลินทางเดียวเท่านั้น
แต่การเรียนรู้ว่า เราจะใช้อินซูลินเมื่อไร ? และใช้อินซูลินเท่าใดเป็น
เรื่องท้าทายต่อการรักษา...เพราะการฉีดอินซูลินในแต่ละครั้ง หรือแม้
กระทั้งการฉีดอย่างต่อเนื่อง (infuse insulin) ไม่สามารถทำให้อินซูลิน
ออกฤทธิ์ได้เหมือนกับอินซูลินที่ถูกปล่อยออกจากตับอ่อนตามธรรมชาติเลย
สิ่งแรกที่เราจะต้องเรียนรู้ คือ เราควรใช้อินซูลินเมื่อใด ?
และให้อินซูลินในปริมาณแค่ใหน ?
<< PREV NEXT >> Part 3 : Insulin action
ในการรักษาเบาหวาน...
เป้าหมายของรักษาด้วยยาฉีด Insulin (Insulin therapy) คือการ
ให้อินซูลินแกคนไข้ โดยหวังว่า อินซูลินที่ให้แก่คนเป็นเบาหวาน
แล้ว มันจะออกฤทธิ์เหมือนกับคนไม่เป็นเบาหวานใช้อินซูลินตาม
ปกติ
Basal insulin.
โดยทั่วไป ตับอ่อนของคนเราจะหลั่ง “อินซูลิน” ออกมาใน
ใน 24 ชั่วโมงในปริมาณไม่มาก โดยเฉลี่ยรางกายจะผลิต
ฮอร์โมนตัวดังกล่าวประมาณ หนึ่งยูนิต ต่อชั่วโมง โดยไม่
คำนึงถึงว่าท่านจะรับประทานอาหารหรือไม่
Bolus insulin.
เมื่อคนเรารับานอาหาร ร่างกายของเรา (ตับอ่อน) จะตอบ
สนองต่อาหารที่เรารับทานเข้าไปด้วยการสร้างอินซูลินใน
ปริมาณมาก และจะถูกปล่อยออกมาเป็นสองระยะ (two-
Phases boluses)
ระยะแรก (First phase) จะมีการหลั่งอินซูลินออกมาภาย
ในไม่กี่นาทีหลังจากเราเคี้ยงอาหาร และสิ้นสุดเอาประมาณ
15 นาที ระยะที่สอง เป็นการหลังออกมาอย่างช้าๆ อย่างต่อ
เนื่องเป็นเวลาชั่วโมงครึ่งถึงสามชั่วโมง โดยทีปริมาณของ
อินซูลินจะสัมพันธ์กับระดับน้ำตาลที่เพิ่มขึ้นภายหลังการรับ
ประทานอาหาร
ในคนที่มีการผลิตอินซูลินตามปกติ...
การสร้าง และการหลั่งอินซูลินจะอยู่ภายใต้ระบบ feedback...
ซึ่งทำหน้าที่รักษาระดับน้ำตาลในกระแสเลือดให้อยู่ในระหว่าง 70 mg/dL
และ 140 mb/dL ตลอดเวลา โดยไม่ต้องคำนึงว่า ท่านจะรับทานอาหาร
หรือไม่ หรือว่าออกกำลังกายหรือไม่ ?
ส่วนในระหว่างที่คนเราไม่สบาย (illness)...
หรือในระหว่างที่ร่างกายต้องการอินซูลิน ตับอ่อนจะสร้างฮอร์โมนดังกล่าว
เพิ่มขึ้น
สำหรับคนที่มีตับอ่อน ซึ่งไม่สามารถหลั่งอินซูลินได้ตามปกติ
จำเป็นต้องได้รับการฉีดอินซูลิน (insulin injection or insulin pump)
เช่น คนเป็นเบาหวานประเภทหนึ่ง (T1DM) ซึ่งตับอ่อนไม่สามารถสร้าง
อินซูลิน หรือไม่มีอินซูลินเลย จะต้องได้รับอินซูลินทางเดียวเท่านั้น
แต่การเรียนรู้ว่า เราจะใช้อินซูลินเมื่อไร ? และใช้อินซูลินเท่าใดเป็น
เรื่องท้าทายต่อการรักษา...เพราะการฉีดอินซูลินในแต่ละครั้ง หรือแม้
กระทั้งการฉีดอย่างต่อเนื่อง (infuse insulin) ไม่สามารถทำให้อินซูลิน
ออกฤทธิ์ได้เหมือนกับอินซูลินที่ถูกปล่อยออกจากตับอ่อนตามธรรมชาติเลย
สิ่งแรกที่เราจะต้องเรียนรู้ คือ เราควรใช้อินซูลินเมื่อใด ?
และให้อินซูลินในปริมาณแค่ใหน ?
<< PREV NEXT >> Part 3 : Insulin action
Rapid-Acting Insulin (ควบคุมเวลาการใช้ให้ถูกต้อง) Part 4:Insulin action
Nov. 17, 2013
ฤทธิ์ของอินซูลินที่เกิดขึ้นสามารถแบ่งเป็นสามระยะด้วยกัน:
Onset: จุดเริ่มต้นของการออกฤทธิ์ลดระดับน้ำตาลในกระแสเลือด
Peak: เป็นช่วงที่อินซูลินออกฤทธิ์ต่อการลดระดับน้ำตาลได้สูงสุด
Duration: เป็นระยะเวลาที่อินซูลินออกฤทธิ์ลดระดับน้ำตาลอย่าง
ต่อเนื่อง
อินซูลินออกฤทธิ์ในระยะสั้น (rapid-acting insulin) ...
มักจะถูกเรียกว่า mealtime insulin หรืออินซูลินที่ใช้ในขณะกินข้าว
หรือรับประทานอาหาร ที่เรียกเช่นนั้น เพราะการออกฤทธิ์ของมันจะ
คล้ายกับฤทธิ์ของอินซูลินที่ถูกปล่อยออกมาตามธรรมชาติโดยตับอ่อน
ซึ่งถูกปล่อย (หลั่ง) ออกมาเพื่อจัดการกับน้ำตาลที่ได้จากอาหารที่คน
เรารับทานเข้าไป...
อย่างไรก็ตาม มีผู้คนจำนวนไม่น้อยได้ใช้ rapid-acting insulin แก่
คนไข้เพื่อให้มันทำหน้าที่จัดการกับน้ำตาลในกระแสเลือดให้เข้าสู่เซลล์
ในขณะท้องว่างทั้งกลางวัน และกลางคืน โดยวิธีให้อินซูลินอย่างต่อ
เนื่อง (insulin pump) เพื่อให้เพื่อให้เซลล์ในร่างกายได้ใช้น้ำตาลเป็น
พลังอย่างต่อเนื่อ..ซึ่งเราเรียก basal insulin
ในปัจจุบัน เรามีอินซูลินออกฤทธิ์เร็ว (rapid acting insulin) ให้เราได้
ใช้เพื่อจัดการกับระดับน้ำตาล...อยู่สามชนิด นั้นคือ Lispro, aspart
(Novolog) และ glulisine (Apidra) ซึ่งต่างมีวิถีการออกฤทธื (action
Curve) คล้ายๆ กัน (เริ่มออกฤทธิ์5 -15 นาที., ออกฤทธิ์มสูงสดุใน
เวลา 45-90 นาที และช่วงเวลาการออกฤทธิ์นานประมาณ 3 – 4 ชม.)
อย่างไรก็ตาม ตัวเลขที่แสดงการออกฤทธิ์ของอินซูลินได้สุงสุดมาเป็น
เพียงค่าเฉลี่ยเท่านั้น (45 – 90 นาที) ซึ่งอาจเร็ว หรือช้ากว่านั้นได้
ดังนั้น ท่านอาจพบได้จากการตรวจรับน้ำตาลในกระแสเลือด...เพื่อได้
ที่เหมาะสมสำหรับคนไข้แต่ละรายไป
<< PREV NEXT >> Part 4 Matching insulin and food
ฤทธิ์ของอินซูลินที่เกิดขึ้นสามารถแบ่งเป็นสามระยะด้วยกัน:
Onset: จุดเริ่มต้นของการออกฤทธิ์ลดระดับน้ำตาลในกระแสเลือด
Peak: เป็นช่วงที่อินซูลินออกฤทธิ์ต่อการลดระดับน้ำตาลได้สูงสุด
Duration: เป็นระยะเวลาที่อินซูลินออกฤทธิ์ลดระดับน้ำตาลอย่าง
ต่อเนื่อง
อินซูลินออกฤทธิ์ในระยะสั้น (rapid-acting insulin) ...
มักจะถูกเรียกว่า mealtime insulin หรืออินซูลินที่ใช้ในขณะกินข้าว
หรือรับประทานอาหาร ที่เรียกเช่นนั้น เพราะการออกฤทธิ์ของมันจะ
คล้ายกับฤทธิ์ของอินซูลินที่ถูกปล่อยออกมาตามธรรมชาติโดยตับอ่อน
ซึ่งถูกปล่อย (หลั่ง) ออกมาเพื่อจัดการกับน้ำตาลที่ได้จากอาหารที่คน
เรารับทานเข้าไป...
อย่างไรก็ตาม มีผู้คนจำนวนไม่น้อยได้ใช้ rapid-acting insulin แก่
คนไข้เพื่อให้มันทำหน้าที่จัดการกับน้ำตาลในกระแสเลือดให้เข้าสู่เซลล์
ในขณะท้องว่างทั้งกลางวัน และกลางคืน โดยวิธีให้อินซูลินอย่างต่อ
เนื่อง (insulin pump) เพื่อให้เพื่อให้เซลล์ในร่างกายได้ใช้น้ำตาลเป็น
พลังอย่างต่อเนื่อ..ซึ่งเราเรียก basal insulin
ในปัจจุบัน เรามีอินซูลินออกฤทธิ์เร็ว (rapid acting insulin) ให้เราได้
ใช้เพื่อจัดการกับระดับน้ำตาล...อยู่สามชนิด นั้นคือ Lispro, aspart
(Novolog) และ glulisine (Apidra) ซึ่งต่างมีวิถีการออกฤทธื (action
Curve) คล้ายๆ กัน (เริ่มออกฤทธิ์5 -15 นาที., ออกฤทธิ์มสูงสดุใน
เวลา 45-90 นาที และช่วงเวลาการออกฤทธิ์นานประมาณ 3 – 4 ชม.)
อย่างไรก็ตาม ตัวเลขที่แสดงการออกฤทธิ์ของอินซูลินได้สุงสุดมาเป็น
เพียงค่าเฉลี่ยเท่านั้น (45 – 90 นาที) ซึ่งอาจเร็ว หรือช้ากว่านั้นได้
ดังนั้น ท่านอาจพบได้จากการตรวจรับน้ำตาลในกระแสเลือด...เพื่อได้
ที่เหมาะสมสำหรับคนไข้แต่ละรายไป
<< PREV NEXT >> Part 4 Matching insulin and food
วันศุกร์ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2557
Interaction between Metoprolol and Diphenylhydralmine
Sept. 19, 2014
ในการรักษาโรคด้วยการใช้ยา...
ปรากฏว่า มีบ่อยครั้งที่ผู้ฝช้ไม่ตระหนักถึงปฏิกิริยาระหว่างยาที่ตนเองกำลังใช้
ย่อแ่กให้เกิดผลเสียได้มากกว่าผลดี...
นี้คือตัวอย่างที่เราพบ...
คนสูงอายุเป็นโรคความดั้นโลหิตสูง ซึงแพทย์ได้ให้ยากลุ่ม Beta blocker ชื่อ
Metoprolol ....อยู่มาวันหนึ่ง คนไข้เกิดมีอาการวิงเวียน จึงไปพบแพทย์เพื่อ
ขอรับการรักษา และแพทย์ได้สั่งจ่ายยา Djphenylhydralamine แก้อาการวิงเวียน
ให้แก่คนไข้รายนั้น
ลองดูซิว่า...ผลจะเกิดอะไรขึ้น?
เมื่อเรารับประทานยา “metoprolol” เข้าสู่กายแล้ว
ลองดูซิว่า มันเกิดอะไรขึ้น ?
ตามปกติ ยาทุกตัวที่เป็นสารเคมี เมื่อผ่านเข้าสู่ร่างกาย มันจะทำปฏิกิริยากับ
"เอ็นไซม์" เพื่อมันจะได้ถูกขจัดออกจากกายไป...
ยา Metoprolol เมื่อเข้าสู่กายแล้ว มันจะทำปฏิกิริยากับเอ็นไซม์ชื่อ
Cyotochrome P450(CYP) 2D6:
สำหรับยา Diphenylhydralamine เมื่อเข้าสู่ร่างมนจะทำปฏิกิริยา "ยับยั้ง"
ไม่ให้ CYP2D6 ทำงาน
เมื่อมีการใชั้ยาทั้งสองพร้อมกันเมื่ดใด...ผลจะทำให้ยา Metoprolol ในกระแส
เลือดสูงขึ้น พร้อมๆ กับทำให้เกิดอาการอันไม่พึงปราถนาขึ้น
ซึ่งเราเรียกว่า "แพ้ยา" นั่นเอง
จากปรากฏการณ์ดังกล่าว...
จึงเป็นข้อเตือนใจว่า เม่่ื่อคนไข้ใช้ยารักษากลุ่ม beta blockers เพื่อลดความ
ดัน (เช่น carvedilol, nebivolol, propanolol และ timolol) ไม่ใควรใช้ร่วมกับยา
ที่ออกฤทธิ์ยับยั้งเอ็นไซม์ CYP2D6 เป็นอันขาด
www.pharmacytimes.com
ในการรักษาโรคด้วยการใช้ยา...
ปรากฏว่า มีบ่อยครั้งที่ผู้ฝช้ไม่ตระหนักถึงปฏิกิริยาระหว่างยาที่ตนเองกำลังใช้
ย่อแ่กให้เกิดผลเสียได้มากกว่าผลดี...
นี้คือตัวอย่างที่เราพบ...
คนสูงอายุเป็นโรคความดั้นโลหิตสูง ซึงแพทย์ได้ให้ยากลุ่ม Beta blocker ชื่อ
Metoprolol ....อยู่มาวันหนึ่ง คนไข้เกิดมีอาการวิงเวียน จึงไปพบแพทย์เพื่อ
ขอรับการรักษา และแพทย์ได้สั่งจ่ายยา Djphenylhydralamine แก้อาการวิงเวียน
ให้แก่คนไข้รายนั้น
ลองดูซิว่า...ผลจะเกิดอะไรขึ้น?
เมื่อเรารับประทานยา “metoprolol” เข้าสู่กายแล้ว
ลองดูซิว่า มันเกิดอะไรขึ้น ?
ตามปกติ ยาทุกตัวที่เป็นสารเคมี เมื่อผ่านเข้าสู่ร่างกาย มันจะทำปฏิกิริยากับ
"เอ็นไซม์" เพื่อมันจะได้ถูกขจัดออกจากกายไป...
ยา Metoprolol เมื่อเข้าสู่กายแล้ว มันจะทำปฏิกิริยากับเอ็นไซม์ชื่อ
Cyotochrome P450(CYP) 2D6:
สำหรับยา Diphenylhydralamine เมื่อเข้าสู่ร่างมนจะทำปฏิกิริยา "ยับยั้ง"
ไม่ให้ CYP2D6 ทำงาน
เมื่อมีการใชั้ยาทั้งสองพร้อมกันเมื่ดใด...ผลจะทำให้ยา Metoprolol ในกระแส
เลือดสูงขึ้น พร้อมๆ กับทำให้เกิดอาการอันไม่พึงปราถนาขึ้น
ซึ่งเราเรียกว่า "แพ้ยา" นั่นเอง
จากปรากฏการณ์ดังกล่าว...
จึงเป็นข้อเตือนใจว่า เม่่ื่อคนไข้ใช้ยารักษากลุ่ม beta blockers เพื่อลดความ
ดัน (เช่น carvedilol, nebivolol, propanolol และ timolol) ไม่ใควรใช้ร่วมกับยา
ที่ออกฤทธิ์ยับยั้งเอ็นไซม์ CYP2D6 เป็นอันขาด
www.pharmacytimes.com
วันอาทิตย์ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2557
เมื่อตัดสินใจรักษาด้วยอินซูลินฉีด P.7 Initiating insulin :The Importance of Patient Education
Sept. 10, 2014
ไม่ว่าท่านจะวางแผนการรักษาโรคเบาหวานด้วยวิธีใด...
การให้ความรู้แก่คนไข้ ถือเป็นเรื่องจำเป็น โดยเขาควรได้รับคำอธิบาย
เกี่ยวกับฤทธืของอินซูลิน, ผลกระทบต่อาหารทีรับประทาน, รวมถึงการ
ออกกำลังกาย ซึ่งมีผลต่อระดับน้ำตาลในกระแสเลือด
การตรวจระดับน้ำตาลในกระแสเลือดด้วยตนเอง ถือว่าเป็นส่วนสำคัญ
ต่อการควบคุมระดับน้ำตาล
เพื่อหลีกเลี้ยงการต่อต้านการใช้ อินซูลิน” ของคนไข้...
แพทย์จำเป็นต้องเริ่มบอกกล่าวให้คนไข้ได้ทราบแต่เนิ่นๆ โดยให้รับรู้
ว่า โรคเบาหวานเป็นโรคที่มีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่แย่ลงตามเวลา
ท่่ผ่านไป ซึ่งสุดท้าย ในคนที่เป็นเบาหวานทุกคน ต่างลงเอยด้วยการ
ใช้อินซูลินเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลอย่างหลีกเล่ี่งไม่ได้เลย
ที่สำคัญ คนที่เป็นโรคเบาหวานต้องทราบเป้าหมายของการรักษาว่า
มีเป้าหมายในการรักษาอย่างไร ? ไม่ใช้ปฏิเสธการใช้ปฏิเสธรูปแบบ
ของการรักษา แต่ต้องยอมรับความจริงว่า เมื่อจำเป็นต้องใช้อินซูลิน
เมื่อใด...ท่านต้องยอมรับอย่างปฏิเสธไม่ได้โดยเด็ดขาด
โดยสรุป...
ในคนไข้ที่เป็นโรคเบาหวานประเภทสอง....ในระยะสุดท้ายของการเกิดโารค
มักจะไม่ตอบสนองต่อการใช้เม็ดลดน้ำตาลในกระแสเลือด และจำเป็นต้องใช้
อินซูลินรัีกษา (insulin therapy) กัน วิธีการที่คนไข้ยอมรับกัน คือการให้ฉีด
อินซูลินชนิด Intermediate-acting insulin ในตอนแย็นก่อนนอน (bedtime) ร่วม
กับยาเม็ดลดน้ำตาล...ซึ่งเป็นวิธีง่ายต่อการปฏิบัติของคนทั่วโลก
<< BACK
อ้างอิง...
ไม่ว่าท่านจะวางแผนการรักษาโรคเบาหวานด้วยวิธีใด...
การให้ความรู้แก่คนไข้ ถือเป็นเรื่องจำเป็น โดยเขาควรได้รับคำอธิบาย
เกี่ยวกับฤทธืของอินซูลิน, ผลกระทบต่อาหารทีรับประทาน, รวมถึงการ
ออกกำลังกาย ซึ่งมีผลต่อระดับน้ำตาลในกระแสเลือด
การตรวจระดับน้ำตาลในกระแสเลือดด้วยตนเอง ถือว่าเป็นส่วนสำคัญ
ต่อการควบคุมระดับน้ำตาล
เพื่อหลีกเลี้ยงการต่อต้านการใช้ อินซูลิน” ของคนไข้...
แพทย์จำเป็นต้องเริ่มบอกกล่าวให้คนไข้ได้ทราบแต่เนิ่นๆ โดยให้รับรู้
ว่า โรคเบาหวานเป็นโรคที่มีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่แย่ลงตามเวลา
ท่่ผ่านไป ซึ่งสุดท้าย ในคนที่เป็นเบาหวานทุกคน ต่างลงเอยด้วยการ
ใช้อินซูลินเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลอย่างหลีกเล่ี่งไม่ได้เลย
ที่สำคัญ คนที่เป็นโรคเบาหวานต้องทราบเป้าหมายของการรักษาว่า
มีเป้าหมายในการรักษาอย่างไร ? ไม่ใช้ปฏิเสธการใช้ปฏิเสธรูปแบบ
ของการรักษา แต่ต้องยอมรับความจริงว่า เมื่อจำเป็นต้องใช้อินซูลิน
เมื่อใด...ท่านต้องยอมรับอย่างปฏิเสธไม่ได้โดยเด็ดขาด
โดยสรุป...
ในคนไข้ที่เป็นโรคเบาหวานประเภทสอง....ในระยะสุดท้ายของการเกิดโารค
มักจะไม่ตอบสนองต่อการใช้เม็ดลดน้ำตาลในกระแสเลือด และจำเป็นต้องใช้
อินซูลินรัีกษา (insulin therapy) กัน วิธีการที่คนไข้ยอมรับกัน คือการให้ฉีด
อินซูลินชนิด Intermediate-acting insulin ในตอนแย็นก่อนนอน (bedtime) ร่วม
กับยาเม็ดลดน้ำตาล...ซึ่งเป็นวิธีง่ายต่อการปฏิบัติของคนทั่วโลก
<
- www.medscape.org/
- www.aafp.org/
- www.australianprescriber.com/
ป้ายกำกับ:
Diabetes: Importance of patient eductaiton
loading..
เมื่อตัดสินใจรักษาด้วยอินซูลินฉีด P.6 initiating insulin : multiple options
Sept.10,2014
จากผลของการศึกษา...
ได้เสนอแนวทางในการเริ่มใช้อินซูลินว่า โดยการใช้ premixed insulins
หรือ insulin analogs ซึ่งได้รับการยืนยันโดย 1-2-3 study ว่า...
การใช้ aspart premixed 70/30 สามารถควบคุมระดับน้ำตาลให้ลด
สู่เป้าหมายได้ตามต้องการ โดยการฉีดวันละครั้ง
จากวิธีการดังกล่าว เราสามารถปรับเปลี่ยน ด้วยการเพิ่มจำนวนครั้งของ
การฉีดอินซูลิน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของการควบคุมระดับน้ำตาล
โดยเริ่มให้ analog premix 12 units ในเวลาอาหารเย็น
หรือในเวลาที่รับประทานอาหารหนักที่สุดของวัน ...
ถ้าผลที่ได้ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย...
ให้ฉีดอินซูลินเข็มที่สองในช่วงอาหารก่อนอาหารเช้า
และหากผลยังไม่ได้ตามเป้าหมาย ให้ฉีดเป็นเข็มที่สามในตอนอาหาร
มื้อเที่ยว
การปรับอินซูลินด้วยวิธีนี้ ปรากฏว่าได้ผลดีถึคง 77 % แถมยังอำนวย
ความสดวก และง่ายต่อการปฏิบัติของคนไข้ โดยการให้อินซูลินจะสัม
พันธ์กับรูปแบบของการรับประทานอาหารของเขs
<< BACK NEXT >> P. 7: The Importanct of Patient Eductaion
จากผลของการศึกษา...
ได้เสนอแนวทางในการเริ่มใช้อินซูลินว่า โดยการใช้ premixed insulins
หรือ insulin analogs ซึ่งได้รับการยืนยันโดย 1-2-3 study ว่า...
การใช้ aspart premixed 70/30 สามารถควบคุมระดับน้ำตาลให้ลด
สู่เป้าหมายได้ตามต้องการ โดยการฉีดวันละครั้ง
จากวิธีการดังกล่าว เราสามารถปรับเปลี่ยน ด้วยการเพิ่มจำนวนครั้งของ
การฉีดอินซูลิน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของการควบคุมระดับน้ำตาล
โดยเริ่มให้ analog premix 12 units ในเวลาอาหารเย็น
หรือในเวลาที่รับประทานอาหารหนักที่สุดของวัน ...
ถ้าผลที่ได้ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย...
ให้ฉีดอินซูลินเข็มที่สองในช่วงอาหารก่อนอาหารเช้า
และหากผลยังไม่ได้ตามเป้าหมาย ให้ฉีดเป็นเข็มที่สามในตอนอาหาร
มื้อเที่ยว
การปรับอินซูลินด้วยวิธีนี้ ปรากฏว่าได้ผลดีถึคง 77 % แถมยังอำนวย
ความสดวก และง่ายต่อการปฏิบัติของคนไข้ โดยการให้อินซูลินจะสัม
พันธ์กับรูปแบบของการรับประทานอาหารของเขs
<< BACK NEXT >> P. 7: The Importanct of Patient Eductaion
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)