วันอาทิตย์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2556

Fibromyalgia : Treatment Plan

Aug. 8, 2013


What do they do?
ในปัจจุบัน เรามียาหลายขนาน ถูกนำไปใช้รักษาอาการของโรค "ไฟโบรมัยแอลเกีย"
ถ้าใช้ยารักษาอาการซึมเศร้า (antidepressants) ในขนาดสูง

How do they work?
แม้ว่า เราจะไม่ทราบสาเหตุของโรค "ไฟโบรมัยแองเกีย" ...
ดั้งนั้น การรักษาโรค "ไฟโบรมัยแอลเกีย"  จึงมุ่งตรงไปที่สมองโดยตรง
มียาหลายตัวไม่เพียงแต่บรรเทาอาการเจ็บปวดได้เท่านั้น

What’s important to know about the drug class?
ในขณะนี้  มียาสามตัวที่ได้รับการยอมรับจาก FDA ให้นำไปใช้รักษาโรค "ไฟโบรมัยแอลเกีย"
เช่นเดียวกับการใช้ยาทั่ว ๆ ไป...
การใช้ยาระงับประสาท (sedative) รวมทั้งเครื่องดื่มแอลกอฮอล สามารถก่อให้เกิด

เป็นต้นว่า  ยารักษาอาการซึมเศร้า (antidepressants) ซึ่งใช้ในขนาดน้อยกว่าขนาด
ที่ใช้รักษาภาวะซึมเศร้า  สามารถช่วยบรรเทาอาการปวด
และช่วยให้การนอนหลับชนิดให้ฟื้นสู่สภาพปกติได้

สามารถรักษาภาวะซึมเศร้า และเครียด ที่เกิดจากความเจ็บปวดเรื้อรังดี
นอกจานั้นยังมียาอย่างอื่น ซึ่งมีประโยชน์ต่อโรคไฟโบรมัยแอลเกีย  ได้แก่:
ยาคลายกล้ามเนื้อ (muscle relaxant) สำหรับลดการการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ;
ยาต้านอาการชัก (anti-seizure medications)  ซึ่งสามารถรักษาอาการปวดประสาทได้;
และยาแก้ปวดที่ใช้กันตามปกติ


แต่มีฤทษฎีหนึ่ง  เชื่อว่า อาการปวดที่เกิดขึ้น เป็นผลมาจากกระบวนการณ์ภายในสมอง

ไม่ใช้ปัญหาที่เกิดขึ้นตรงตำแหน่งของความเจ็บปวด

เพื่อเปลี่ยนแปลงสารเคมีภายในสมอง
ไม่ให้เซลล์ประสาทที่ทำงานเกียวกับความเจ็บปวดทำงานมากไป

แต่ยังช่วยรักษาอาการเหนื่อยล้า, ทำให้อารมณ์ผ่อนคลาย, ช่วยให้การหลับผักผ่อน
และปัญหาอื่น ๆ ที่เกิดกับคนที่เป็นโรคดังกล่าวได้ดีขึ้น
เช่น โรคลำไส้แปรปรวน (irritable bowel syndrome) และ
กลุ่มอาการของโรค "ขาอยู่ไม่สุข " (restless leg syndrome)


ซึ่งได้แก่ duloxetine (Cymbalta), milnacipran (Savella) และ pregabalin (Kyrica)

นอกจากยาดังกล่าแล้ว ยังมียาอย่างอื่น
ซึ่งไม่ได้รับการยอมรับจาก FDA (off-label) แต่แพทย์ใช้ได้ผลตามประสบการณื...

ยาที่ถูกนำมาใช้ในการรักษาโรค "ไฟโบรมัยแอลเกีย"  จะมีผลข้างเคียงด้วยเช่นกัน
ที่พบได้บ่อยที่สุด ได้แก่ อาการวิงเวียน, ง่วง, ซึม และทำให้ปากแห้ง

อันตรายได้ และก่อนใช้ยารักษาโรค ดังกล่าวได้
ดังนั้น แพทย์จะต้องรู้ด้วยว่า ท่านรับประทานยาอะไรบ้าง




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น