พลังสำรองของสมอง...มันคืออะไร... ?
Cognitive function ตามความเข้าใจของเราคนทั่วไป คงหมายถึง
หน้าที่ของสมองนั่นเอง มันหมายความถึงความจำ (รู้คิด), สมาธิ และการรับรู้
ซึ่งจะนำไปสู่การมีพฤติกรรมตามที่คนเราต้องการ
หน้าที่ของสมองนั่นเอง มันหมายความถึงความจำ (รู้คิด), สมาธิ และการรับรู้
ซึ่งจะนำไปสู่การมีพฤติกรรมตามที่คนเราต้องการ
เมื่อสมองของคนเราเกิดเสื่อมลง ความสามารถของสมองดังกล่าว
ย่อมลดลงเป็นธรรมดา
แต่มีบางคน เมื่อสมองของเขาเกิดการเสื่อมเสียไป โดยพบว่า
มีความผิดปกติภายในสมอง โดยมีสาร amyloid plague สพสมอยู่ และมีความ
ผิดปกติของ protein tau ซึ่งอยู่ภายในเซลล์ประสาทสมอง เรียก neurofibrillary tangles
:ซึ่งทั้งสองกรณี ต่างเป็นพยาธิสภาพของคนเป็นโรค "อัลไซเมอร์"
แต่ปรากฏว่า เขาไม่แสดงอาการของคนเป็นโรคดังกล่าวเลย
ทำไมจึงเป็นเช่นนั้น ?
ที่เป็นเช่นนั้น เขาอธิบายว่า เป็นเพราะสองของเขามีพลังสำรองสามารถชดเชย
ส่วนของสมองที่ถูกทลายได้
ส่วนของสมองที่ถูกทลายได้
โดยผลจากการศึกษาของนาย Roe และเพื่อนจาก Washington University (2008):
ได้ทำการศึกษาเรื่องพลังสำรองของสมอง (cognitive reserve) เป็นเวลาหลายปี
พบว่า คนที่ได้รับการศึกษามาก หรือใช้เวลาในการศึกษาหาความรู้เป็นเวลาหลายปี
ทำให้ห้เขาไม่มีอาการของโรคอัลไซเมอร์เกิดขึ้น ทั้งๆ ที่สมองของเขาเกิด
มีพยาธิสภาพของโรคเกิดขึ้น (amyloid plague + neurofibrillary tangles)
ทำให้ห้เขาไม่มีอาการของโรคอัลไซเมอร์เกิดขึ้น ทั้งๆ ที่สมองของเขาเกิด
มีพยาธิสภาพของโรคเกิดขึ้น (amyloid plague + neurofibrillary tangles)
ผลจากการศึกษานี้บอกให้เราทราบว่า…
คนที่ได้รับการศึกษามาก (greater education) สามารถทำให้สมองของคนเรา
คงสภาพการทำงาน cognitive function ได้เป็นปกติ แม้ว่าสมองจะมีความเสื่อม
หรือมีพยาธิสภาพของโรคอัลไซเมอร์แล้วก็ตาม
หรือจะกล่าวว่า การศึกษาหาความรู้อยู่เสมอ ๆ ก็เป็นอีกทางหนึ่ง ที่ทำให้คนเรา
ไม่เกิดอาการของโรคอัลไซเมอร์ได้
คงสภาพการทำงาน cognitive function ได้เป็นปกติ แม้ว่าสมองจะมีความเสื่อม
หรือมีพยาธิสภาพของโรคอัลไซเมอร์แล้วก็ตาม
หรือจะกล่าวว่า การศึกษาหาความรู้อยู่เสมอ ๆ ก็เป็นอีกทางหนึ่ง ที่ทำให้คนเรา
ไม่เกิดอาการของโรคอัลไซเมอร์ได้
โดยสรุป:
จากการศึกษายืนยันให้เราได้ทราบว่า
พลังการรู้คิด หรือพลังสำรองของสมอง ซึ่งถูกวัดโดยจำนวนปีของการศึกษา
จะมีผลกระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่าง การทำงานของสมอง
โดยไม่ก่อให้เกิดอาการของโรคปรากฏให้เห็น
http://www.google.co.th/
http://www.google.co.th/
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น