ถ้ามีคนเป็นโรคสมองเสื่อม (dementia)…
ในปัจจุบัน เราไม่มีการตรวจสำหรับวินิจฉัยโรคดังกล่าว
แต่แพทย์จะทำการวินิจฉัยโรค “อัลไซเมอร์”
และสมองเสื่อมชนิดอื่น ๆ
โดยอาศัยประวัติการเกิดโรค (medical history),
ตรวจร่างกาย (physical exam.),
ผลการทางห้องปฏิบัติการณ์ (lab. Tests)
แต่แพทย์จะทำการวินิจฉัยโรค “อัลไซเมอร์”
และสมองเสื่อมชนิดอื่น ๆ
โดยอาศัยประวัติการเกิดโรค (medical history),
ตรวจร่างกาย (physical exam.),
ผลการทางห้องปฏิบัติการณ์ (lab. Tests)
และการเปลี่ยนแปลงในการคิด (thinking), การปฏิบัติกิจในระหว่าง
วัน (day–to-day function) และพฤติกรรมในแต่ละราย
จากข้อมูลที่ได้ แพทย์สามารถตัดสินได้ว่า...
คนไข้แต่รายมีภาวะสมองเสื่อม (dementia) ด้วยความมั่นใจสูง
แต่เป็นการยากที่จะบอกว่า
ภาวะสมองเสื่อมนั้นเป็นโรคนชนิดไหน ?
ภาวะสมองเสื่อมนั้นเป็นโรคนชนิดไหน ?
ทั้งนี้เพราะอาการแสดง และการเปลี่ยนแปลงของสมองแต่ละรายแตกต่างกัน
และอาจทำให้เกิดอาการคาบเกี่ยวกัน (overlap) ได้
และอาจทำให้เกิดอาการคาบเกี่ยวกัน (overlap) ได้
มีคนไข้บางราย แพทย์จะวินิจฉัยว่าเป็นโรคสมองเสื่อม
แต่ไม่สามารถบอกได้ว่าเป็นโรคสมองเสื่อมชนิดใด
ในกรณีเช่นนี้ อาจจำเป็นต้องพึงพาผู้เชี่ยวชาญ (neurologist )
ทำการตรวจสองด้วยวิธีพิเศษ
ทำการตรวจสองด้วยวิธีพิเศษ
การรักษา (Dementia treatment)
ในการรักษา ย่อมขึ้นกับสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะสมองเสื่อม
ในรายที่มีอาการเลวลงเรื่อยๆ (progressive)
เช่น โรค “อัลไซเมอร์” ในขณะนี้เราไม่มีทางรักษาโรคให้หาย
และไม่มีทางชะลอ หรือทำให้โรคยุติเกิดการเปลี่ยนแปลงไม่ให้เลวลงได้
แต่เรามียาที่สามารถทำให้อาการดีขึ้นในระยะสั้น ๆ ได้เท่านั้น
ยาชนิดเดียวกันกับที่ใช้รักษาโรค “อัลไซเมอร์” เป็นกลุ่มยาที่ถูกนำ
ไปใช้รักษาอาการของคนไข้สมองเสื่อมชนิดอื่นๆ
รวมถึงการรักษาด้วยวิธีไม่ต้องใช้ยา (non-drug therapies)
ซึ่งสามารถช่วยลดอาการของคนไข้โรคสมองเสื่อมในบางราย
ซึ่งสามารถช่วยลดอาการของคนไข้โรคสมองเสื่อมในบางราย
สุดท้าย...
แนวทางสู่การรักษาแบบใหม่ที่ได้ผลดีต่อคนไข้สมองเสื่อม
จำเป็นต้องอาศัยการวิจัยใหม่ๆ เพิ่มขึ้น
โดยผ่านการวิจัยที่มีทุนเพิ่มขึ้น พร้อมกับเพิ่มผู้เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น
จำเป็นต้องอาศัยการวิจัยใหม่ๆ เพิ่มขึ้น
โดยผ่านการวิจัยที่มีทุนเพิ่มขึ้น พร้อมกับเพิ่มผู้เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น
ซึ่งปัจจุบัน...มีการกล่าวว่า จำเป็นต้องมีคนเข้าร่วมกับโครการดัง
กล่าวอย่างน้อย 50,000 ราย.....
มีปัจจัยหลายอย่าง มีส่วนทำให้เกิดโรคสมองเสื่อม
เช่น อายุที่แก่ขึ้น (age) และพันธุกรรรม (genetics)
ซึ่งเป็นปัจจัยทีไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ แต่นักวิจัยยังพยายามทำการศึกษา
ซึ่งเป็นปัจจัยทีไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ แต่นักวิจัยยังพยายามทำการศึกษา
อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้รู้ว่า มีปัจจัยอะไรอีกบ้างที่มีผลกระทบต่อสมอง
และพยายามหาทางป้องกันไม่ให้เกิดภาวะสมองเสื่อม
และพยายามหาทางป้องกันไม่ให้เกิดภาวะสมองเสื่อม
ในขณะนี้นักวิจัยได้ทำการศึกษาอย่างหนักเกี่ยวกับการลดปัจจัย
เสี่ยงต่อการเกิดโรคสมองเสื่อม ซึ่งได้แก่ ปัจจัยเกี่ยวกับระบบหัวใจและเส้นเลือด,
ความสมบูรณ์ทางกาย (physical fitness) และ อาหาร (diet)
ความสมบูรณ์ทางกาย (physical fitness) และ อาหาร (diet)
Cardiovascular risk factors:
สมองของมนุษย์เราได้รับการหล่อเลี้ยงจากเครือข่ายของเส้นเลือด
ที่ให้เลือดแก่สมองได้อย่างสมบูรณ์ที่สุด...
อะไรก็ตามที่สามารถทำลายเส้นเลือดของร่างกาย ย่อมสามารถทำลาย
อะไรก็ตามที่สามารถทำลายเส้นเลือดของร่างกาย ย่อมสามารถทำลาย
เส้นเลือดในสมองได้เช่นกัน เป็นเหตุให้เซลล์ของสมองถูกทำลาย
จากการขาดเลือด และออกซิเจนได้
การเปลี่ยนแปลงของเส้นเลือดในสมอง จะมีส่วนสัมพันธ์กับการทำ
เกิดสมองเสื่อมจากเส้นเลือด (vascular dementia)
นอกจากนั้นยังทำให้เกิดโรคสมองเสื่อมชนิดอื่นๆ
เช่น โรค “อัลไซเมอร์” สมองเสื่อมชนิดที่มี Lewy bodies
การเปลี่ยนแปลงในสมองจากปัจจัยทางเส้นเลือดและหัวใจ
อาจก่อให้เกิดปฏิกิริยา ทำให้สมองเสื่อมเลวขึ้น หรือทำอาการแย่มากขึ้น
ในกรณีดังกล่าว เราสามารถป้องกันสมองของเราได้ในรูปแบบเดียว
กับการป้องกันหัวใจของเรา
นั้นคือ ไม่สูบบุหรี่; ควบคุมระดับความดันโลหิต, ระดับ cholesterol
และระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในระดับปกติตามที่กำหนด;
และ ควบคุมระดับน้ำหนักตัวให้ดี
การออกกำลังกาย (Physical exercise):
การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมออาจช่วยลดความเสี่ยงต่อการ
เกิดโรคสมองเสื่อมบางชนิด โดยมีหลักฐานบ่งชี้ให้เห็นว่า
การออกกำลังกายมีผลประโยชน์โดยตรงต่อเซลล์ประสาทสมอง
ด้วยการเพิ่มการไหลเวียนของเลือด และออกซิเจนสู่สมอง
ได้มากขึ้น
อาหาร (Diet):
สิ่งที่เรารับประทานอาจมีผลกระทบอย่างมากต่อสมองโดยผ่านทางระบบหัวใจ...
อาหารอะไรที่เป็นประโยชน์ต่อหัวใจ ย่อมเป็นประโยชน์ต่อสมองด้วยเช่นกัน
เช่น อาการ Mediteranean Diet
เช่น อาการ Mediteranean Diet
ซึ่งเป็นอาหารที่มีเนื้อแดง (red meat) ในปริมาณน้อย,
และเน้นที่อาหารที่เป็นผัก, ผลไม้, ธัญพืช, ปลา, หอย, ถั่ว, น้ำมันพืช...
และเน้นที่อาหารที่เป็นผัก, ผลไม้, ธัญพืช, ปลา, หอย, ถั่ว, น้ำมันพืช...
http://www.alz.org
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น