แม้ว่ากีฬากอล์ฟจะได้รับความนิยมก็ตาม...
กอล์ฟยังเป็นเกมกีฬาที่ทำให้หลายคนเข้าใจผิด โดยมีคนจำนวนไม่น้อยมีความเชื่อว่า
เพราะกอล์ฟเป็นที่ให้ความสนุกสนานมากกว่าการออกกำลังกาย
§ กอล์ฟ เป็นเกมที่ไม่ค่อยก่อให้เกิดบาดเจ็บ เพราะเป็นเกมที่ไม่ได้ออกแรงมาก
ความเป็นจริงมีว่า กอล์ฟเป็นเกมกีฬาที่ดีสำหรับสุขภาพอย่างแน่นอน
และเป็นเกมที่ก่อให้เกิดบาดเจ็บได้บ่อยที่สุดเกมหนึ่ง
ซึ่งท่านสามารถป้องกันได้ ด้วยการเล่นให้เป็น เล่นให้ถูกต้อง
เดิน และเดิน...
ในปี 1970s การออกกำลังกายด้วยการทำให้หัวใจ และปอดแข็งแรง (aetobics)
ด้วยการออกกำลังกายด้วยความรุนแรง (vigorous exercise) นั้น ดีสำหรับสุขภาพ
แต่จากการศึกษาพบว่า การออกกำลังกายเบาๆ ด้วยการเดิน (modestly paced exercise)
แต่จากการศึกษาพบว่า การออกกำลังกายเบาๆ ด้วยการเดิน (modestly paced exercise)
จะให้ประโยชน์ต่อสุขภาพของเราได้ แม้ว่าจะมีการหยุดพักเป็นระยะๆ ก็ตาม
สำหรับการเล่นกอล์ฟ ประโยชน์ที่ได้ปรากฏว่า ไม่ได้มาจากการสวิงไม้กอล์ฟ
และไม่เกี่ยวกับระดับฝีมือของการเล่นกอล์ฟ แต่ประโยชน์ที่ได้เกิดจากการเดินมากกว่า
ในการเล่นกอล์ฟแต่ละครั้ง จะเดินเป็นระยะทางโดยเฉลี่ยประมาณ 6,000 หลา
และในการเล่นกอล์ฟแต่ละรอบ คนเล่นกอล์ จะเดินด้วยระยะทางประมาณ 4 ไมล์
ถ้าท่านเล่นกอล์ฟ 18 หลุม อาทิตย์ละ 3 – 5 ครั้ง
ประโยชน์ที่ท่านได้รับ คือทำให้หัวใจของท่านมีความเข็งแรงทนทานขึ้น
(endurance exercise)
ประโยชน์ที่ท่านได้รับ คือทำให้หัวใจของท่านมีความเข็งแรงทนทานขึ้น
(endurance exercise)
ถ้าท่านแบกถุงกอล์ฟ หรือลากถุงกอล์ฟเอง
จะทำให้ท่านได้ประโยชน์จากการเล่นกอล์ฟเพิ่มขึ้น
ในกรณีที่ท้องฟ้าไม่เอื้ออำนวย ทำให้ท่านไม่สามารถเล่นกอล์ฟได้บ่อยเท่าที่ควร
ท่านออกกำลังกายอย่างอื่นทดแทน เพื่อให้สุขภาพของท่านอยู่ในสภาพที่ดี
จะทำให้ท่านได้ประโยชน์จากการเล่นกอล์ฟเพิ่มขึ้น
ในกรณีที่ท้องฟ้าไม่เอื้ออำนวย ทำให้ท่านไม่สามารถเล่นกอล์ฟได้บ่อยเท่าที่ควร
ท่านออกกำลังกายอย่างอื่นทดแทน เพื่อให้สุขภาพของท่านอยู่ในสภาพที่ดี
ในประเทศ ฟินแลนด์ มีสนามกอล์ฟที่ยากต่อการเล่น....
แต่ก็มีนักวิจัยได้ทำการศึกษาคนเล่นกอล์ฟเพื่อความฟิต และสุขภาพของร่างกาย
ซึ่งได้ลงตีพิมพ์ใน The American Journal of Medicine, August 2000.)
โดยมีผู้เข้าร่วมในการศึกษาจำนวน 110 คน ต่างเป็นคนที่มีสุขภาพดี
ทุกคนต่างมีอาชีพนั่งโต๊ะ (sedentary men) อายุระหว่าง 48 – 64
ในระหว่างทำการศึกษา ครึ่งหนึ่ง เล่นกอล์ฟ 18 หลุม 2 – 3 ครั้งต่อสัปดาห์
โดยไม่ใช้รถเป็นพาหนะ ต้องเดิน...ส่วนอีกที่เหลือไม่เล่นกอล์ฟ แต่ทำงานตามปกติ
โดยไม่ใช้รถเป็นพาหนะ ต้องเดิน...ส่วนอีกที่เหลือไม่เล่นกอล์ฟ แต่ทำงานตามปกติ
เช่น มีการทำสวน (gardening), ทำงานบ้านเป็นประจำ
ทุกคนได้รับการศึกษาเป็นระยะเวลา 20 อาทิตย์
แม้ว่าจะเป็นการศึกษาในระยะสั้นๆ แต่ผลที่ได้ปรากฏว่า
กลุ่มที่เล่นกอล์ฟ จะได้ผลเป็นที่ประทับใจ
เมื่อมีการเปรียบเทียบกับคนไม่เล่นกอล์ฟ เราจะพบว่า คนเล่นกอล์ฟ:
§ น้ำหนักลด (Lost weight)
§ รอบเอวลดลง (Reduced their waist size and abdominal fat)
§ ทำให้หัวใจและปอดแข็งแรงขึ้น (improved their aerobic exercise capacity)
§ เพิ่มความเข็มแข็งให้แก่ร่างกาย (Increased their strength)
§ ช่วยทำให้ระดับ HDL cholesterol ดีขึ้น
§ ลดระดับความดันของโลหิตลง (Lower blood pressure)
บาดเจ็บที่เกิดจากการเล่นกอล์ฟ
กอล์ฟเป็นกีฬาที่เล่นอย่างเชื่องช้า และดูเหมือนจะเป็นเกมที่นุ่มนวล
แต่เมื่อเล่นแล้วจะพบว่า จะก่อให้เกิดแรงกดดัน (strain) ต่อกล้ามเนื้อและเอ็นต่างๆ
ได้อย่างมากมาย และในการสวิงกอล์ฟแต่ละครั้ง มันจะกระทบกับทุกส่วนของร่างกาย
การสวิงไม้กอล์ฟแต่ละครั้ง สามารถทำให้ท่านได้รับบาดเจ็บได้
ได้อย่างมากมาย และในการสวิงกอล์ฟแต่ละครั้ง มันจะกระทบกับทุกส่วนของร่างกาย
การสวิงไม้กอล์ฟแต่ละครั้ง สามารถทำให้ท่านได้รับบาดเจ็บได้
เช่น การสวิงหัวไม้กระทบพื้นดิน สามารถทำให้เกิดบาดเจ็บที่ข้อมือ หรือไหล่ได้
สำหรับคนสูงอายุเมื่อเล่นกอล์ฟ มีโอกาสได้รับบาดเจ็บได้ง่าย
และในกลุ่มคนที่เล่นมากเกินไป ย่อมมีโอกาสได้รับบาดเจ็บมากขึ้นเช่นกัน
สำหรับคนสูงอายุเมื่อเล่นกอล์ฟ มีโอกาสได้รับบาดเจ็บได้ง่าย
และในกลุ่มคนที่เล่นมากเกินไป ย่อมมีโอกาสได้รับบาดเจ็บมากขึ้นเช่นกัน
นั้นคือเหตุผลที่ทำให้เราพบว่า มีนักเล่นกอล์ฟอาชีพจำนวน 50 % ได้รับบาดเจ็บ
มากพอที่จะยุติการเล่นนานถึงสามอาทิตย์ หรือมากกว่า
สำหรับคนเล่นกอล์ฟไม่เป็น (ซึ่งเขาเรียกคนพวกนี้ว่า “duffers”)
สำหรับคนเล่นกอล์ฟไม่เป็น (ซึ่งเขาเรียกคนพวกนี้ว่า “duffers”)
ต่างมีโอกาสได้รับบาดเจ็บบ่อยที่สุด
บาดจากการเล่นกอล์ ที่พบได้บ่อย:
Back injuries
ถ้าท่านคิดว่า กอล์ฟเป็นเกมของคนอ่อนแอ ลองพิจารณาความจริงต่อไปนี้ดู
เมื่อมีการสวิงกอล์ฟ จะเกิดแรงอัด (compressive load) ลงบนกระดูกสันหลังส่วนล่าง
(ระดับบั้นเอว) ของท่าน โดยแรงอัดที่วัดได้ถึงแปดเท่าตัวของน้ำตัวของท่านที่กดลง
บนกระดูกสันหลัง หรือมากว่าแรงอัดบนกระดูกสันหลังที่เกิดจากการวิ่ง (ประมาณสามเท่า)
(ระดับบั้นเอว) ของท่าน โดยแรงอัดที่วัดได้ถึงแปดเท่าตัวของน้ำตัวของท่านที่กดลง
บนกระดูกสันหลัง หรือมากว่าแรงอัดบนกระดูกสันหลังที่เกิดจากการวิ่ง (ประมาณสามเท่า)
หรือมากกว่าการพายเรือ (ประมาณเจ็ดเท่า)
ดังนั้น การสวิงกอล์ฟ จึงเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดการแตกของหมอนกระดูกสันหลัง
หรือทำให้กระดูกสันหลังแตกหัก (compression fracture)
หรือทำให้กระดูกสันหลังแตกหัก (compression fracture)
แต่โชคยังดี เพราะภาวะดังกล่าวเกิดได้น้อยมาก
สำหรับการฉีดขาดของกล้ามเนื้อระดับบั้นเอวจะเกิดได้บ่อย
เพราะการบิดตัว (twisting) ถือเป็นส่วนสำคัญสำหรับการสวิงกอล์ฟที่ดี
ยิ่งการสวิงกอล์ฟในยุคใหม่นี้ เราจะพบว่า ทุกครั้งที่มีการสวิงจะต้องทำให้ลำตัว
แอ่นไปทางด้านหลังให้เป็นรูปตัว “C” พร้อมๆ กับการปล่อยให้ไม่กอล์ฟสวิงตาม
ลูกกอล์ฟไป (follow through) ซึ่งจะทำให้เกิดการบาดเจ็บได้ง่ายมาก
Elbow problems
บาดเจ็บบริเวณข้อศอกมีได้หลายรูปแบบ
ทั้งการเล่นเทนนิส และเล่นกอล์ฟ ต่างมีสิ่งหนึ่งที่เหมือนกัน คือ
จะทำให้เกิดบาดเจ็บที่บริเวณข้อศอกได้คล้ายๆ กัน
เช่น การเป็น Tennis Elbow จะเป็นการฉีกขาดของเอ็นที่บริเวณด้านนอกของข้อศอก
(lateral epicondylitis) ส่วน บาดเจ็บที่เกิดจากการเล่นกอล์ฟ (Golfers)
(lateral epicondylitis) ส่วน บาดเจ็บที่เกิดจากการเล่นกอล์ฟ (Golfers)
จะเกิดเจ็บปวดที่บริเวด้านในของข้อศอก
Hand and wrist injuries
เมื่อเราสวิงหัวไม่กอล์ฟผ่านลูกกอล์ฟไปด้วยความเร็ว 100 ไมล์ต่อชั่วโมง
ข้อมือจะดูดซับแรงจากการกระแทกของลูกกอล์ฟ บวกเข้ากับการจับไม้กอล์ฟขณะสวิง...
และ การสวิงบ่อยๆ จะทำให้เกิดเอ็นที่บริเวณข้อมือเกิดอักเสบ (tendinitis) ได้
ซึ่งเป็นบาดเจ็บที่บริเวณข้อมือพบได้บ่อย
นอกจากนั้น การสวิงกอล์ ยังสามารถก่อให้เกิดโรคอีกหลายอย่าง
เช่น เส้นประสาทบริเวณข้อมือถูกกดรัด (carpal tunnel syndrome), นิ่วติด (trigger finger),
หรือแม้กระทั้งทำให้กระดูกข้อมือแตก (fracture of hamate)
หรือกระดูกที่ฐานของข้อมือแตก ซึ่งอาจมีความรุนแรงถึงขั้นขัดขวางการเล่นกอล์ฟได้
หรือแม้กระทั้งทำให้กระดูกข้อมือแตก (fracture of hamate)
หรือกระดูกที่ฐานของข้อมือแตก ซึ่งอาจมีความรุนแรงถึงขั้นขัดขวางการเล่นกอล์ฟได้
Shoulder ailments
การเล่นกอล์ฟมากเกินไป สามารถก่อให้เกิดปัญหาของข้อไหล่ได้
โดยเฉพาะในช่วงท้ายสุดของการแบลกสวิง(backswing) และช่วงสุดของการ
ปล่อยให้ไม้สวิงตามลูก (follow - through) โดยจะก่อให้เกิดแรงอัดขึ้นกับกล้ามเนื้อมัดเล็กๆ จำนวนสี่มัดที่บริเวณข้อไหล่ (rotator cuff) จนถึงขั้นทำให้เกิดการบาดเจ็บ
ซึ่งจะทำให้เกิดการอักเสบ (rotator cuff tendinitis) ได้
ส่วนการฉีกขาดของกล้ามเนื้อแหล่านี้เกิดได้น้อยมาก
Lower body injuries
การสวิงกอล์ฟเป็นเกมที่ไม่ก่อให้เกิดปัญหากับส่วนร่างของร่างกายโดยตรง
แต่จะเกิดจากการเดิมตามลูกกอล์ไปมากกว่า
แต่จะเกิดจากการเดิมตามลูกกอล์ไปมากกว่า
ในการเดินลากถุงกอล์ฟ นอกจากจะทำให้การไหลเวียนของเลือดดีขึ้น
ยังสามารถทำให้เกิดบาดเจ็บแก่ส่วนล่างของร่างกายได้
ยังสามารถทำให้เกิดบาดเจ็บแก่ส่วนล่างของร่างกายได้
เช่น ทำให้เกิดข้อเคล็ด, เอ็นของข้อเข่า ข้อเท้า และเท้าเกิดการอักเสบได้
นอกจากนั้น อาจทำให้เกิดผิวหนังพุพอง (blisters)
นอกจากนั้น อาจทำให้เกิดผิวหนังพุพอง (blisters)
ซึ่งเป็นเรื่องที่ก่อให้เกิดความรำคาญใจได้
แล้วเราจะป้องกัน (บาดเจ็บ)ได้อย่างไรกันละ ?
การเล่นกอล์ฟจะก่อให้เกิดบาดเจ็บได้ง่าย
แต่ส่วนใหญ่แล้ว บาดเจ็บที่เกิดไม่ค่อยรุนแรงนัก และสามารถรักษาได้
และที่สำคัญ เราสามารถป้องกันไม่ให้บาดเจ็บเกิดขึ้น ได้ดังต่อไปนี้:
ท่านต้องสร้างความทนทานในการเดินให้ได้ นอกจากนั้น ท่านต้องออกกำลังกาย
เพื่อให้ร่างกายของท่านมีความยืดหยุ่น และมีความแข็งแรง ซึ่งจะทำให้การเล่นกอล์ฟ
ของท่านดีขึ้น
§ เหยียดแขน-ขาให้ตรงพร้อมเกร็งกล้ามเนื้อ (stretch) โดยทั่วไป กล้ามเนื้อของเรา
จะแข็งแรงเมื่อมีการใช้มันบ่อยๆ แต่ในขณะเดียวกัน การสวิงกอล์สามารถทำให้กล้ามเนื้อ
ของท่านตึง และแข็งเกร็งได้ และการเหยียดแขน หรือขาให้ตรงพร้อมกับทำเกร็งกล้ามเนื้อ
จะแข็งแรงเมื่อมีการใช้มันบ่อยๆ แต่ในขณะเดียวกัน การสวิงกอล์สามารถทำให้กล้ามเนื้อ
ของท่านตึง และแข็งเกร็งได้ และการเหยียดแขน หรือขาให้ตรงพร้อมกับทำเกร็งกล้ามเนื้อ
สามารถช่วยให้อาการดีขึ้น
§ สร้างกล้ามเนื้อให้แข็งแรง พร้อมกับสร้างมวลกระดูก (Build strong muscles
And bone) สำหรับคนที่มีอายุมาก เขาจะเสียมวลของกล้ามเนื้อไป และกระดูกจะบางลง
เพราะมีการสูญเสียสาร calcium
เพราะมีการสูญเสียสาร calcium
การบริหารร่างกายด้วยการออกแรงต้านแรงต่อต้าน (strength training)
สามารถป้องกันการสูญเสียมวลกล้ามเนื้อ และป้องกันกระดูกบางได้
สามารถป้องกันการสูญเสียมวลกล้ามเนื้อ และป้องกันกระดูกบางได้
การรับประทานอาหารที่มีปริมาณ protein ที่พอเหมาะ, มี calcium และ vitamin D เพียงพอ
รวมกับการเล่นเวท (การบริหารต้านแรงต้าน) สามารถตีลูกกอล์ฟให้ได้ระยะ
รวมกับการเล่นเวท (การบริหารต้านแรงต้าน) สามารถตีลูกกอล์ฟให้ได้ระยะ
หากไม่การอุ่นเครื่อง มีแนวโน้มที่จะได้รับบาดเจ็บได้ง่าย ดังนั้น ก่อนเล่นกอล์ฟ
จำเป็นต้องมีการอุ่นเครื่องก่อนเสมอ ซึ่งนอกจากจะป้องกันไม่ให้เกิดบาดเจ็บแล้ว
ยังทำให้การสวิงกอล์ฟของท่านดีขึ้น
ยังทำให้การสวิงกอล์ฟของท่านดีขึ้น
การเหยียดข้อให้ตรงพร้อมกับเกร็งกล้ามเนื้อเป็นพักๆ จะทำให้กล้ามเนื้อและข้อมีการคลายตัว
ก่อนเล่นกอล์ฟ ซึ่งท่านควรทำการอุ่นเครื่องประมาณ 10 – 15 นาที
สามารถป้องกันไม่ให้เกิดบาดเจ็บ และทำให้การเล่นกอล์ฟของท่านดีขึ้น
คู่มือ (ไม่ตีกอล์ฟ) และมีไม่ค่อยสนใจต่อความสำคัญของรองเท้า, ถุงเท้า, ถุงมือ และเสื้อผ้าที่สรวมใส่เท่าใดนัก เพราะสิ่งเหล่านี้สามารถป้องกันไม่ให้เกิดบาดเจ็บต่อท่านได้
§ มองให้เห็นปัญหา และให้การรักษาให้เร็วที่สุด เช่นความเจ็บปวดเล็กๆ น้อยๆ ต้องรีบแก้ไข
อย่าปล่อยทิ้งไว้ อาจเกิดเป็นปัญหาเรื้อรังได้
อย่าปล่อยทิ้งไว้ อาจเกิดเป็นปัญหาเรื้อรังได้
§ อย่าเพิกเฉยต่อสิ่งเล็กๆ น้อยๆ เช่น ก่อนเล่นกอล์ฟควรดื่มน้ำให้มาก
แต่อย่ารับประทานอาหารหนัก ป้องกันตัวเองจากแสงแดด (หมวก, ร่มกันแดด
และแว่นตา...) และ
กอล์ฟเป็นเกมกีฬาที่ดี เป็นเกมที่เราสามารถเล่นคนเดียวได้
ที่สำคัญเป็นเกมเพื่อเอาชนะตัวเอง เป็นเกมสำหรับฝึกดูกาย และดูจิตของตนเองได้
ที่สำคัญเป็นเกมเพื่อเอาชนะตัวเอง เป็นเกมสำหรับฝึกดูกาย และดูจิตของตนเองได้
นอกจากนั้น ยังเป็นเกมที่ดีสำหรับพบปะเพื่อนฝูง และ ทำให้เรามีโอกาสศึกษา
พฤติกรรมของเพื่อนมนุษย์ ทำให้เราได้ทราบนิสัยของคนว่าเป็นเช่นใด...
และสามารถนำมาใช้ประกอบธุรกิจได้… และ
การกอล์ฟจะดีสำหรับสุขภาพของคนเล่นเอง
พฤติกรรมของเพื่อนมนุษย์ ทำให้เราได้ทราบนิสัยของคนว่าเป็นเช่นใด...
และสามารถนำมาใช้ประกอบธุรกิจได้… และ
การกอล์ฟจะดีสำหรับสุขภาพของคนเล่นเอง
http://www.intelihealth.com
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น