continued
การวินิจฉัยโรค (Diagnosis)
การวินิจฉัยโรค (Diagnosis)
เมื่อเส้นประสาทส่วนปลายถูกทำลาย จะมีความแตกต่างกันอย่างมากมาย
โดยขึ้นกับความรุนแรง และตำแหน่งของเส้นประสาทที่เกี่ยวข้อง
ซึ่งอาจยากต่อการวินิจฉัย
โดยขึ้นกับความรุนแรง และตำแหน่งของเส้นประสาทที่เกี่ยวข้อง
ซึ่งอาจยากต่อการวินิจฉัย
ถ้าแพทย์มีความสงสัยว่า เส้นประสาทส่วนปลายถูกทำลาย
เขาจะทำการซักประวัติคนไข้เกี่ยวกับการเกิดโรค รวมถึงการตรวจทางระบบประสาท
หาตำแหน่งของเส้นประสาทถูกทำลาย
และความรุนแรงของเส้นประสาทที่ทำลายไป ด้วยการตรวจที่ประกอบด้วย:
o การตรวจเลือดทางห้องปฏิบัติการณ์ (Blood tests)
o ตรวจ น้ำจากไขสันหลัง (Spinal fluid tests)
o ตรวจพลังของกล้ามเนื้อ
o ความสามารถในตรวจหาคลื่นความสั่นเสทือน (detect vibration)
จากผลของการตรวจที่ได้รับ แพทย์อาจทำการตรวจพิเศษเพิ่มเติม ตามความจำเป็น
ดังต่อไปนี้:
ดังต่อไปนี้:
o CT scan
o MRIU scan
o Electomyography
o Nerve and skin biopsy
การรักษา
(Treatment)
โดยปกติ
เส้นประสาทส่วนปลายถูกทำลาย (peripheral
neuropathy)
ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้
แต่เรามีหลายสิ่งหลายอย่าง
ซึ่งสามารถป้องกันไม่ให้มันเลวลงกว่าเดิมได้
ถ้าต้นเหตุทำให้เกิดเส้นประสาทถูกทำลาย เป็นโรคเบาหวาน...
แพทย์จะจัดการรักษาโรคเบาหวานก่อน ด้วยการทำให้ระดับน้ำตาลลดลง
สู่ระดับที่ใกล้ปกติ พร้อมๆ กันนั้น คนไข้จะได้รับการรักษาอาการเจ็บปวด (pain)
และอาการอย่างอื่นที่เกิดจากปลายประสาทถูกทำลาย
ในบางราย
คนไข้สามารถใช้ยาที่ซื้อ-หาจากร้านขายยา
ซึ่งอาจช่วยบรรเทาความเจ็บปวดลงได้
ส่วนรายอื่นๆ แพทย์จำเป็นต้องจ่ายยา
ที่แรงขึ้นให้แก่คนไข้
มียางชนิด เช่น mexiletine
เป็นยาที่แพทย์ใช้แก้ไขโรคหัวใจ ที่มีการเต้นไม่สม่ำเสมอ
และมีการใช้ยาอย่างอื่น ๆ ได้แก่ยาต้านโรคชัก (antilepileptic drugs)
เช่น gabapentin, phenytoin และ carbamazepine และยาในกลุ่มต้านอาการซึมเศร้า
และมีการใช้ยาอย่างอื่น ๆ ได้แก่ยาต้านโรคชัก (antilepileptic drugs)
เช่น gabapentin, phenytoin และ carbamazepine และยาในกลุ่มต้านอาการซึมเศร้า
รวมถึงพวก tricyclic เช่น amitriptyline
ซึ่งถูกนำมาใช้รักษาอาการของโรคปลายประสาทถูกทำลายได้ผลดี
ซึ่งถูกนำมาใช้รักษาอาการของโรคปลายประสาทถูกทำลายได้ผลดี
ในบางราย
อาจมีการใช้ยาชา lidocaine ฉีด
หรือใช้แปะไว้บนผิวหนังส่วนที่มีอาการปวด ...
ซึ่งสามารถช่วยลดอาการปวดลงได้
ซึ่งสามารถช่วยลดอาการปวดลงได้
และในรายที่มีความเจ็บปวดอย่างมาก...
แพทย์อาจทำการผ่าตัด...ทำลายเส้นประสาท หรือซ่อมแซมส่วนที่
ถูกทำลายให้ดีขึ้น
สามารถช่วยลดอาการเจ็บปวดลงได้
การป้องกัน
(Prevention)
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคนไข้เอง สามารถป้องกันไม่ให้เกิดเส้นประสาท
ถูกทำลายได้ ซึ่งท่านสามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคดังกล่าว
ด้วยการหลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์,แก้ไขภาวะขาดไวตามิน, รับอาหารสุขภาพ,
อย่าให้น้ำหนักตัวเพิ่ม หรือลดน้ำหนักที่เกินออก, หลีกเลี่ยงการสัมผัสพิษต่าง ๆ
และออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
ถูกทำลายได้ ซึ่งท่านสามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคดังกล่าว
ด้วยการหลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์,แก้ไขภาวะขาดไวตามิน, รับอาหารสุขภาพ,
อย่าให้น้ำหนักตัวเพิ่ม หรือลดน้ำหนักที่เกินออก, หลีกเลี่ยงการสัมผัสพิษต่าง ๆ
และออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
การจัดการกับเส้นประสาทถูกทำลาย
(Managing
peripheral neuropathy)
ถ้าท่านเกิดเป็นโรคเส้นประสาทถูกทำลายชนิดใดชนิดหนึ่ง...
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม
สามารถช่วยทำให้ท่านรู้สึกดีขึ้นและสามารถลดความเจ็บปวดลงได้
นอกจากนั้น
ท่านท่านต้องมั่นดูแลสุขภาพของท่านอยู่เสมอ อย่าปล่อยให้มีแผล
เกิดขึ้น โดยเฉพาะบาดแผลที่เท้า สามารถทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อน
ซึ่งอาจมีความรุนแรงถึงขั้นต้องตัดขาทิ้งได้
เกิดขึ้น โดยเฉพาะบาดแผลที่เท้า สามารถทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อน
ซึ่งอาจมีความรุนแรงถึงขั้นต้องตัดขาทิ้งได้
การดูแลตนเองที่บ้าน
คนไข้บางราย
อาจจำเป็นต้องสรวมใส่อุปกรณ์ของมือ และเท้า (orthotics)
เพื่อช่วยให้มือ หรือเท้าที่อ่อนแรงทำงานได้ดีขึ้น
นอกจากนั้น
การฝึกจิตเพื่อผ่อนคลาย (relaxation)
เช่น ฝึกโยคะ หรือนั่งสมาธิ...สามารถช่วยลดอาการทางประสาท
และอาการทางร่างกายได้ดี จัดเป้นเรื่องที่คุ้มค่าที่จะนำไปปฏิบัติ...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น