continued....
การรักษาปัญหาที่เกิดขึ้นกับต่อมไทรอยด์
สำหรับต่อมไทรอยด์ที่เป็นปัญหา
ซึ่งอาจเป็นชนิดทำงานมากไป หรือทำงานน้อยไป
การรักษาปัญหาดังกล่าว มีทั้งการรักษาตามมาตรฐาน
ซึ่งอาจเป็นชนิดทำงานมากไป หรือทำงานน้อยไป
การรักษาปัญหาดังกล่าว มีทั้งการรักษาตามมาตรฐาน
และการรักษาทางเลือก
การรักษาตามมาตรฐานส่วนใหญ่จะขึ้นกับการใช้ยา (drugs) และ
การผ่าตัด(surgery) ส่วนการรักษาทางเลือก (alternative treatments)
จะเป็นการลดอาการที่เกิดร่วมกับปัญหาของต่อมไทรอยด์
หรือช่วยทำให้การทำงานของต่อมไทรอยด์ทำงานดีขึ้น
โดยผ่านวิธีการต่างๆ ตั้งแต่อาหารเสริม, สมุนไพร,
การผ่าตัด(surgery) ส่วนการรักษาทางเลือก (alternative treatments)
จะเป็นการลดอาการที่เกิดร่วมกับปัญหาของต่อมไทรอยด์
หรือช่วยทำให้การทำงานของต่อมไทรอยด์ทำงานดีขึ้น
โดยผ่านวิธีการต่างๆ ตั้งแต่อาหารเสริม, สมุนไพร,
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการออกกำลังกาย
ในการรักษาต่อมไทรอยด์ทำงานมากเกิน (Hyperthyroidism)…
จำเป็นต้องทำการยับยั้งการสร้างไทรอยด์ฮอรโมน ไม่ให้สร้างมากไป
ส่วนการรักษาต่อมไทรอยด์ที่ทำงานน้อยไป จะเป็นการให้ฮอร์โมน
เืพื่อเป็นการชดเชยฮอร์โมนส่วนที่ขาดหายไป
เืพื่อเป็นการชดเชยฮอร์โมนส่วนที่ขาดหายไป
ในการรักษาด้วยการใช้ยาตามมาตรฐาน สามารถลด กำจัดส่วนที่ทำงานเกิน
หรือเสริมฮอร์โมนส่วนที่ขาดหายไป ก่อนตัดสินใจว่า
จะเลือกทำการรักษาแบบใดจึงจะเหมาะสำหรับคนไข้
จะเลือกทำการรักษาแบบใดจึงจะเหมาะสำหรับคนไข้
แพทย์จะทำการประเมินคนไข้ ตรวจสภาพของต่อมไทรอยด์ ตลอดรวมถึงอายุ,
สุขภาพโดยรวม และประวัติการป่วยของคนไข้
สุขภาพโดยรวม และประวัติการป่วยของคนไข้
ต่อมไทรอยด์ทำงานเกิน (Hyperthyroidism)
เราสามารถยับยั้งไม่ให้ต่อมไทรอยด์ทำงานผลิตฮอร์มากเกินไป หรือให้
หยุดทำงานโดยสินเชิง ซึ่งสามารถกระทำได้โดย:
<!--[if !supportLists]-->§ <!--[endif]-->Radioactive iodine treatment
<!--[if !supportLists]-->§ <!--[endif]-->Anti-thyroid medication
<!--[if !supportLists]-->§ <!--[endif]-->Surgery
ถ้าแพทย์ของท่าน และท่านตัดสินใจว่า จะรักษาด้วยรังสีรักษา (radioactive treatment)
แพทย์จะให้ท่านกลืนยาเม็ด หรือยาที่เป็นน้ำ ซึ่งมีสาร radioactive iodine
ในปริมาณที่ให้จะมากพอที่จะจำกัดการทำงานของต่อมไทรอยด์
หรือทำลายต่อมไม่ให้ทำงานสร้างฮอร์โมน
มีบางครั้ง การรักษาด้วย “รังสีรักษา” อาจจำเป็นต้อให้งมากกว่าหนึ่งครั้ง เพื่อทำ
ให้ต่อมไทรอยด์สามารถกลับมาทำงานได้ตามปกติ แต่คนไข้ส่วนใหญ่มักจะลงเอย
ด้วยการเป็นโรคต่อมไทรอยด์ทำงานขาด (hypothyroidism)
การรักษาด้วยวิธีดังกล่าว จัดเป็นวิธีที่ใช้กันบ่อยที่สุดในสหรัฐฯ
ถ้าท่านตัดสินใจเลือกวิธีการรักษาด้วย "ยาต้านต่อมไทรอยด์" (anti-thyroid medications)
จะพบว่า ....อาการที่เกิดจากต่อมไทรอยด์ทำงานเกิน จะเริ่มหายไปภายใน 6 – 8 อาทิตย์
จะพบว่า ....อาการที่เกิดจากต่อมไทรอยด์ทำงานเกิน จะเริ่มหายไปภายใน 6 – 8 อาทิตย์
อย่างไรก็ตาม ท่านจะต้องรับประทานยาอย่างต่อเนื่องด้วยการรับประทานยาดังกล่าว
เป็นเวลาประมาณหนึ่งปี หลังจากนั้น ท่านอาจจำเป็นต้องได้รับการตรวจเป็นระยะๆ
เพื่อให้แน่ใจว่า โรคจะไม่กลับคืนมาอีก
สำหรับการรักษาด้วยการผ่าตัด (surgery)...
บางครั้งจะแนะนำให้ทำในคนที่มีอายุ 45 ปี โดยเฉพาะคนไข้รายนั้นเป็น hyperthyroidism
มีก้อนเป็น nodule ที่เป็นพิษ (toxic nodules) เพราะภาวะเช่นนั้กจะไม่ตอบสนอง
บางครั้งจะแนะนำให้ทำในคนที่มีอายุ 45 ปี โดยเฉพาะคนไข้รายนั้นเป็น hyperthyroidism
มีก้อนเป็น nodule ที่เป็นพิษ (toxic nodules) เพราะภาวะเช่นนั้กจะไม่ตอบสนอง
ต่อการใช้ยารักษา (anti-thyroid medications)
หลังการผ่าตัดเอาก้อนที่เป็นพิษออก
คนไข้จะกลับคืนสู่สภาพปกติ ฮอร์โมนจะกลับสู่ระดับสมดุลเหมือนเดิมภาย
ในไม่กี่อาทิตย์
ต่อมไทรอยด์อักเสบ...(Subacute Thyroiditis)
ในคนไข้ที่เป็น subacute thyroiditis จะสามารถเปลี่ยนเป็นต่อมไทรอยด์
ทำงานเกินได้ชั่วระยะสั้น ๆ (temporary hyperthyroidisims) ก็ตาม แต่ไม่จำเป็นต้องรักษา
แต่อย่างใด เพียงแค่รักษาอาการปวดจากการอักเสบก็เพียงพอแก่การ
เช่น ใช้ยา acetaminophen” หรือ aspirin ก็สามารถทำให้อาการปวดทุเลาลงได้
ถ้ายังไม่ได้ผล แพทย์อาจสั่งยา prednisone หรือ dexamethasone ระยะสั้น ๆ ได้....
แต่อย่างใด เพียงแค่รักษาอาการปวดจากการอักเสบก็เพียงพอแก่การ
เช่น ใช้ยา acetaminophen” หรือ aspirin ก็สามารถทำให้อาการปวดทุเลาลงได้
ถ้ายังไม่ได้ผล แพทย์อาจสั่งยา prednisone หรือ dexamethasone ระยะสั้น ๆ ได้....
ต่อมไทรอยด์ทำงานน้อย (Hypothyroidism)
ในการรักษาภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานขาด หรือทำงานน้อยลง
จะเป็นการรักษาด้วยการชดเชยฮอร์โมนที่ขาดให้แก่คนไข้ตลอดชีวิต
ไม่มียารักษาให้มันทำงานได้เหมือนเดิม โดยแพทย์จะสั่งฮอร์โมนสังเคราะห์
เช่น levothyroxin เพื่อชดเชยฮอร์โมนที่ขาด
เช่น levothyroxin เพื่อชดเชยฮอร์โมนที่ขาด
สารดังกล่าวมีผลข้างเคียงน้อยมาก มีบางคนอาจมีอาการหงุดหงิด
หรือเจ็บหน้าอกระหว่างรับสารสังเคราะห์ดังกล่าวได้
ยาหลายตัวสามารถกระทบต่อการใช้ฮอร์โมนสังเคราะห็ได้ เช่น estrogen,
Antidepressants, blood thinning drug warfarin, digitalis…..
นอกจากนั้น พวก magnesium, aluminum, iron และพวกนมถัว...
อาจกระทบต่อการใช้ฮอร์โมนสังเคราะห์ได้
ต้องระวัง...
ต้องระวัง...
มะเร็งต่อมไทรอยด์ (Thyroid Cancer)
ในการรักษามะเร็งของต่อมไทรอยด์ ส่วนใหญ่จะได้รับการรักษาด้วยวิธีการผ่าตัด
เอาเนื้องอกออกไป หรือเอาต่อมไทรองด์ออกหมด
หากมันกระจายไปที่อื่น จำเป็นต้องตัดเอาต่อมน้ำเหลืองที่บริเวณคอออกด้วย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น