วันศุกร์ที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2554

Dementia- Is dementia treatable ?

Dementia- continue (2)
What is dementia?
กลุ่มอาการ dementias จะเกิดขึ้น เมื่อการทำงานต่าง ๆของสมองเสียไป
เช่น การเรียนรู้ ความจำ การตัดสินใจ และ ด้านภาษา โดยมีสาเหตุจากโรคหลายอย่าง
หรือ การอักเสบหลาย ๆ อย่าง โรคที่พบบ่อยที่สุด คือ โรค Alzheimer’s disease

What are some of the other causes of dementia?
สาเหตุที่ทำให้เกิดอาการ dementia มีมากมาย เช่น Alzheimer’s disease, Vascular
disorders เช่น สมองขาดเลือดหลายครั้ง (multi-infarct disease) โรคทางพันธุกรรม
(inheritied disorders) เช่น Huntinnton’s disease และการอักเสบติเชื้อ

เช่น HIV
สาเหตุที่ทำให้เกิดอาการ dementias ที่พบได้บ่อยที่สุดได้แก่
 โรคสมองเสื่อม เช่น Alzheimer’s ,Lewy bodies, Parkinson’s
และ Huntington’s diseaess
 โรคสมองเสื่อมจากการขาดเลือดบ่อยครั้ง (multiple-infarct) – Vascular disorders
 โรคสมองอักเสบติดเชื้อ เช่น HIV และ Creutzfeldt-Jakob disease
 จากการใช้ยาเป็นเวลานาน (Chronic drug use)
 จากอาการซึมเศร้า (Depression)
 โรคที่ทำให้มีน้ำ (CSF) คั่งในสมองบางชนิด (hydrocephalus)
รวมถึงการอักเสบติดเชื้อ (infections)บาดเจ็บ (injury) และเนื้องอกในสมอง (brain tumors)

Alzheimer’s disease เป็นโรคทำให้เกิด dementia ที่พบได้ประมาณ 50 -70 %
ของคนไข้ที่มีอาการ dementia ทั้งหมด เป็นโรคที่พบได้บ่อยกว่าชนิดอื่น

อย่างไรก็ตาม เราพบว่า คนที่เคยวินิจฉัยว่าเป็น Azheimer’s disease มาก่อน
แท้จริงเขาเป็นโรคสมองเสื่อมจากสาเหตุอื่น ๆ เช่น Lewy body disease
และ Pick’s disease

นอกเหนือจากนั้น ยังปรากฏว่า มีโรคอีกจำนวนหนึ่ง ซึงทำให้เกิดอาการ dementia ได้
ที่สำคัญ โรคนั้น ๆ สามารถรักษาได้ ดังนั้น ก่อนที่จะตัดสินว่าคนไข้เป็น Alzheimer's
ท่านควรมองหาโรคอื่น ๆ เสียก่อน

How comfimon is dementia?
อาการ dementia ได้บ่อย ย่งในยุคปัจจุบัน ที่มีคนสูงอายุเพิ่มมากขึ้น
ยี่งพบคนมีอาการ Dementia เพิ่มมากขึ้น
อย่างที่เราทราบกัน dementia เป็นอาการที่มีต้นเหตุของสมองเสื่อม (degeneration)
โดยเฉพาะโรค Alzheiemer’s เป็นโรคที่พบได้มากกว่าโรคชนิดอื่น ๆ
มีนักวิจัยบางกลุ่มรายงานว่า
คนที่มีอายุมากกว่า 80 มีโอกาสเป็นโรค Alzheimder’s 50%
นอกจากนั้น ยังพบต่อไปอีกว่า AIDs มีโอกาสเกิดอาการ dementia ได้สูงอีกเช่นกัน

Who gets dementia?
เมื่อมีคำถามว่า ใครโอกาสเป็น dementia บ้าง?
ในยุคปัจจุบัน ผู้คนหันมาใส่ใจในสุขภาพของตัวเองมากขึ้น เป็นเหตุให้มีคนสูงอายุเพิ่มมากขึ้น
จึงทำให้เราพบคนที่เป็นโรคำให้มีอาการ dementia เพิ่มขึ้น
คนแก่อายุมากกว่า 65 มีโอกาสเป็นโรคอย่างใดอย่างหนึ่ง ทำให้เกิดมีอาการ dementia
ได้ประมาณ 5 – 8 % และทุก 5 ปี ที่คนมีอายุเพิ่มขึ้น มีโอกาสเกิดโรคได้เท่าตัว
ซึ่งมีการประเมินว่า คนอายุมากกว่า 85 มีโอกาสเป็นโรคถึง 50 %

What are the types of dementia?
หมอบางท่านแบ่งโรคที่ทำให้เกิดอาการ dementias ออกเป็นสองกลุ่มกว้าง ๆ
โดยอาศัยส่วนของสมองที่เป็นโรคเห็นหลัก ดังนี้:

• Cortical dementias:
คนไข้ที่จัดอยู่ในกลุ่มนี้ ได้แก่โรคที่เกิดขึ้นกับสมองรอบนอก cerebral cortex
บทบาทต่อกระบวนการความรู้ความเข้าใจ (cognitive precess)
เช่น ความจำ (memory) ภาษา (language)
โรคทีพบบ่อยได้แก่ Alzheimer’s และ Crretzfeldt-Jakob disease
คนไข้พวกนี้จะแสดงอาการของความจำเสื่อมอย่ารุนแรง

• Subortical dementia:
คนในกลุ่มนี้ จะเป็นโรคที่เกดกับสมองส่วนที่อยูลึกลงใต้ส่วนที่เราเรียก cortex
คนไข้พวกนี้ จะไม่มีลักษณะเฉพาะของโรคที่เกิดกับสมองส่วน cortical
นั้นคือ ด้านความจำ และ มีปัญหาด้านการใช้ภาษา
คนไข้พวกนี้ Huntington’s disease, Parkinson’s disease
และ AIDs dementia complex
คนไข้พวกนี้ จะจะแสดงออกทางบุคลิคภาพ
และช่วงของความสนใจเปลี่ยนไป (attention span ความคิดช้าลง (thinking)
สำหรับคนไข้ที่เกิดจากสมองขาดเลือดทีลน้อย แต่บ่อยครั้ง (multi-infarct dementia)
จะพบว่า สมองทั้งสองส่วนถูกทำลายลง

Is dementia treatable?
สำหรับคนไข้ที่มีอากรร dementia ที่สามารรักษาได้ หรืออย่างน้อยดีขึ้นบางส่วน
เช่น:

• พวกที่ใช้ยาป็นเวลาต่อเนื่องยาวนาน
• เนื้องอกในสมอง ซึ่งสามารถผ่าตัดออกได้
• ก้นอเลือดใต้เยื้่อหุ้มสมอง สาเหตุจากบาดเจ็บทางศีราะ
• น้ำ CSF คั่งในสมอง (Normal pressure hydrocephalus)
• โรคทาวเมทตาบอลิซึม เช่น ขาดสารไวตามิน B12
• โรคต่อมไทรอยด์ ทำงานน้อยกว่าปกติ (Hypothyroidism)

โรคที่ทำให้เกิดอาการ dementia ซึ่งไม่สามารักษาให้หายได้ ได้แก่:

 Alzheimer’s disease
 Mult-infarct dementia
 Dementia associateddn with Parkinson’s disease
 AIDS dementia complex
 Creutzfeldt-Jakob (CJD)

http://my.clevelandclinic.org/disorders/dementia/hic_types_of_dementia.aspx

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น