(continued)
ปรากฏว่า มีสาเหตุอีกมากมายที่ทำให้เกิดอาการปวดหลัง...เช่น บาดเจ็บจากการใช้งานหนัก (overuse injuries) เป็นต้นเหตุที่สำคัญ
ทีทำให้เกิดอาการปวดหลังส่วนล่าง
(see picture on: www.physioquestion.com)
ซึ่งทำให้เกิดมีอาการเข็งเกร็งของกล้ามเนื้อ
อย่างไรก็ตาม ส่วนมาก อาการปวดที่เกิดขึ้นมักจะหายไปในไม่กี่วัน
สาเหตุอย่างอื่น ๆ ที่สามารถทำให้เกิดอาการปวดหลังส่วนล่าง ได้แก่:
• หมอนกระดูกฉีกขาด (Disc tear)
• กระดูกสันหลังเคลื่อนออกจากที่ (Spondylolisthesis). ภายใต้ภาวะ
การเสื่อมสภาพของกระดูกสันหลัง จะทำให้ข้อต่างๆ และเอ็นต่าง ๆ
ซึ่งทำหน้าที่บกพร่องไป ไมสามารถทำให้กระดูกสันหลังอยู่ในตำแหน่ง
ที่มันควรอยู่ได้ เป็นเหตุให้กระดูกสันหลัง (vertebae) เคลื่อนหลุดออก
จากที่ไปทางด้านหน้า ซึ่งมีโอกาสกดเส้นประสาททำให้เกิดอาการ
ปวดหลังขึ้นได้
• กระดูกสันหลังแตกหัก (vertebral fractures). โดยมีต้นเหตุจากกระ
ดูกพรุน (brittle bones)
• ช่องกระดูกสันหลังตีบแคบ (Spinal stenosis).
เมื่อช่องประสาทสัหลังเกิดแคบลง มันสามารถกดรัดลงบนรากประสาท
การแคบของช่องสันหลังมักจะเกิดจากปุ่มกระดูกที่งอกขึ้น (bone spurs)
ซึ่งเกิดขึ้นโดยเป็นผลมาจากโรคข้อเสื่อม (osteoarthritis)
(See picture on: http://orthoinfo.aaos.org )
• สาเหตุที่พบได้น้อย...
อาการปวดหลังสวนบั้นเอว อาจเป็นอาการของโรคที่รุนแรง
เช่น โรคเบาหวาน (diabetes) หรือเส้นประสาทถูกหนีบ(pinched nerve)
ซึ่งอาจมีอาการอย่างอื่นเกิดร่วมด้วย เช่น เป็นไข้ (fever), หนาวสั่น (chills),
เหงอออกตอนกลางคืน (night sweats) หรือ ไม่สามารถควบ
คุมการขับถ่ายปัสสาวะได้
Low Back Pain Images
เราต้องยอมรับว่า...
ถึงแม้ เราจะมีเทคโนโลยี่ทันสมัยเป็นจำนวมากมายถูกนำมาใช้ในการวินิจฉัยโรค
ว่า อะไรเป็นสาเหตุทำให้เกิดอาการปวดหลังได้ก็ตาม แต่มีบ่อยครั้ง ที่แพทย์
ไม่สามารถทราบได้ว่า อะไรคือต้นเหตุของปัญหา
การตรวจต่างๆ จะถูกนำมาใช้เพื่อยืนยันสาเหตุที่ทำให้เกิดอาการปวดหลัง
เช่นเอกซเรย์, Magnetic resonance imaging (MRI), computerized axial
Tomography (CAT) scan, bone scan และการตรวจดูความหนาแน่นของ
กระดูก (bone density test)
Lower Back Pain: Is It in Your Genes?
หนึ่งในสาเหตุหลักที่ทำให้คนเราเกิดอาการปวดหลังส่วนเอว
และสาเหตุอย่างอื่นที่ไม่ทราบได้ คือ ความผิดปกติในพันธุกรรมของคนปวดหลัง
ในคนที่มีการเสื่อมสภาพของหมอนกระดูก (disc degeneration)
นาย Anderson กล่าวว่า...“ถ้าท่านทำการศึกษาในคู่แฝด...คนหนึ่ง
ให้ทำงานหนัก ส่วนอีกคนให้ทำงานประเภทนั่งโต๊ะ...
แล้วทำการเปรียบเทียบผลการตรวจภาพที่ได้จาการตรวจ MRI...
ผลที่ได้จะหมือนกัน ข้อมูลนี้ บอกให้ทราบว่า
ปัจจัยทางพันธุกรรมมีบทบาทสำคัญเป็นอย่างมาก”
สมมุติท่านมีอาการปวดหลังเรื้อรัง...
ท่านมีแนวโน้มที่จะได้รับการถ่ายทอด ”ยีน” จากพ่อแม่ของท่าน ซึ่ง
ในกระดูกสันหลังของท่านอาจมีปลายปประสาทรับความรู้สึกเกี่ยวกับความเจ็บปวด
ซึ่งมีวามไว (hypersensitive) ต่อสิ่งเร้า เราเรียกปลายประสาทนั้นว่า
nocciceptive fibers
ในคนบางคน พบว่ามี ปุ่มประสาทรับความรูสึกเจ็บปวด (nociceptive ending) มาก
กว่าคนอื่นๆ โดยเฉพาะในหมอนกระดูก (disc)
และจากความจริงข้อนี้เอง ทำให้คนบางคน ซึ่งมีหน้าที่ยกของหนักมาป็นเวลานาน
ไม่เคยมีปัญหาเรื่องปวดหลังเลย ส่วนอีกคนไม่เคยยกของหนักแต่เนื่องจากเขามีปุ่ม
ปลายประสาท nociceptors ในหมอนกระดูกเป็นจำนวนมาก
เป็นเหตุทำให้เขามีความไวต่อสิ่งกระตุ้น จนทำให้เขามีความเสี่ยงต่อ
การเกิดมีอาการปวดหลังได้มากกว่าคนทั่วไป
<< Prev. >> Next
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น