เมื่อมีการกล่าวถึงปฏิกิริยาระหว่างยาเมื่อใด...
เรามักจะหมายถึง “เภสัชจลนศาสตร์” (pharmocodynamic)
หรือไม่ก็เป็น “เภสันพลศาสตร์” (pharmocokinetics) กันแทบทั้งนั้น
ปฏิกิริยาที่เกิดทางเภสัชพลศาสตร์ (pharmocodynamic drug reaction)
จะสัมพันธ์กับผลของยา ซึ่งกระทบกับร่างกายของเขา
ยกตัวอย่างให้เห็น เช่น การดื่มแอลกอฮอล์ ร่วมกับการกินยา จะเป็นเหตุ
ให้เกิดอาการง่วงอยากนอน (sedation) ขึ้น
ส่วนปฏิกิริยาทีเกิดจากเภสัชจลศาสตร์ จะสัมพันธ์กับร่างกายที่กระทบกับยา
ที่ใช้ ยกตัวอย่างให้เห็นภาพชัดขึ้น..
.
การที่ปรากฏในกระแสเลือดในปริมาณความเข็มข้นสูง
เป็นเพราะไตมีสภาพที่เสื่อมโทรมไม่สามารถทำหน้าที่ขับเอายาออกได้
ตามปกติ (renal insufficiency)
การเปลี่ยนแปลงในการดูดซึม (absorption), การกระจายตัว (distribution),
การเปลี่ยนแปลงทางปฏิกิริยาทางเคมี (metabolism) หรือการขับถ่ายออก
จากร่างกาย (elimination of drug)
Previous Section: P. 1 :Drug ineraction commonly used in Diabetes
Next Section: P. 3: Pharmacodynamic Interactions
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น