Jan. 23, 2014
Thiazolidinediones.
ยาในกลุ่ม Thiazolidinediones มีสองตัว คือ Pilgliazone และ rosiglitazone
สำหรับยา rosigltazone (Avandia) ได้ถูกเพิกถอนออกไปเป็นที่เรียบร้อย
เพราะยาตัวนี้มีอันตรายต่อระบบหัวใจ และหลอดเหลือด
จึงมีเพียงยา Pioglitazone ให้ใช้รักษาคนเป็นโรคเบาหวาน ที่เราควรรู้...
ยา Pioglitazone เป็น subtrates ของเอ็นไซม์ CYP2C8 39%, CYP3A4 17 %
โดยเป็นยาที่สามารถใช้ ผ่านทางกระเพาะอาหาร โดยไม่คำนึงเวลา รับประทาน
ผลจากห้องทดลองพบว่า ยา Pioglitazone สามารถถูกกระทบโดยยาที่ที่เป็น
ทั้งตั้วชักนำ (inducers) และตัวยับยั้ง (inhibitors) ของเอ็นไซม์ CYP2C8
แต่ไม่มีรายงานว่า มีปฏิกิริยาระหว่างยา และยา จากการใช้ยาตัวดังกล่าว
โดนเฉพาะการขับถ่าย (elimination drug-drug interaction)
แต่การใช้ยาในกลุ่ม TZDs สามารถทำให้เกิดปฏิกิริยาระหว่างโรค และตัวยา
ได้อย่างมีนัยสำคัญ โดยทำให้เกิดมีน้ำคั่งในร่างกาย (fluid retention)
ซึ่งอาจทำให้เกิดมีอาการบวมที่ส่วนปลายของกาย (peripheral edema),
น้ำคั่งในปอด (pulmonary edema) และหัวใจล้มเหลว (heart failure)
ถามว่า...มันเกิดได้อย่างไรกัน ?
กล่าวกันว่า การเกิดมี่น้ำคั่งภายในร่างกาย อาจเป็นผลเนื่องมาจากไตมี
การดูดเอาสาร “โซเดียม” กลับสู่กระแสเลือด, ความต้านทาทนในเส้นเลือด
(systemic vascular resistance) ลดลง หรือจากกลไกอย่างอื่น
PREVIOUS : P. 11: Metformin NEXT : P. 13 : Hypertension Medications
วันอาทิตย์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2557
ปฏิกิริยาระหว่างยาในคนเป็นเบาหวาน P. 11: Metformin
Jan 22, 2014
ในการใช้ยา Metformin ท่านควรกินยาพร้อมอาหารเพื่อลดอาการไส้ท้อง
และการใช้ยาดังกล่าว อาจก่อให้เกิดปัญหาด้านการดูดซึมของ ไวตามิน B12
ซึ่งอาจเป็นปัญหาทำให้เกิดภาวะขาดไวตามิน B12 และเป็นโรคเลือดจาง
ในที่สุด
Metformin ทำให้เกิดความบกพร่องในการดูดซึม B12 ได้อย่างไรไม่
เป็นที่ทราบชัด อย่างไรก็ตาม การใช้ยา (oral or injection) B12 หรือการให้
calcium อาจแก้ปัญหานั้นได้
Metformin เมื่อเข้าสู่ร่างกายจะไม่ผ่านกระบวนการทางเคมี (metabolism)
และถูกกำจัดออกจากร่างกายทางไต (tubular secretion & glomerular
Filtration)
Metformin เมื่อเข้าสู่ร่างกายจะมีโมเลกูลเป็นประจุไฟฟ้าเป็นบวก (cationic)
และสามารถออกฤทธิ์แข่งขัน (competition) กับยาที่มีประจุไฟฟ้าบวก เพื่อ
จะได้ถูกขับออกทางไต โดยผ่านกระบวนการทาง organic cation transporters
ยาต่าง ๆ ที่จะทำหน้าที่แข่งขันกับ Metformin ตามที่กล่าว ได้แก่:
Procainamide, Digoxin, quinidine, trimethoprim, และ vancomycin
ซึ่งต่างมีประจุไฟฟ้าบวกเหมือนกัน
ส่วนยา cimetidine ซึ่งเป็นยาที่สามารถซื้อหาได้เองจากร้านขายยา
เมื่อคนไข้ใช้ตัวนี้ ร่วมกับยา metformin สามารถทำใหเกิดภาวะเลือดเป็น
กรด Lactic acidosis
ข้องบ่งชี้วา คนไข้เกิดภาวะบกพร่องการทำงานของไต (Renal insufficiency)...
เมื่อเราตรวจพบว่า creatinine ในกระแสเลือดของเขา มีค่าสูงกว่าปกติ
โดยในชายกำหนดค่าไว้ที่ระดับ creatinine ≥ 1.5 mg/dL
และในหญิงค่าของ creatinine ≥ 1.4 mg/ dL
ในกรณีดังกล่าว เขาห้อามใช้ยา Metformin (ยา่จะถูกขับออกทางไต)
ในคนสูงอายุ ซึ่งมีมวลกล้ามเนื้อน้อย ควรทำการตรวจ creatinine clearance
ก่อนที่ใจใช้ยา Metformin ทุกครั้ง และถ้า creatinine clearance rate
มีค่าต่ำกว่า 70 – 80 ml/min ก็ไม่ควรใช้ยา Metformin เช่นกัน
ในระหว่างการฉีดสารทึบแสงเข้าสู่เสนเลือดดำ สามารถเพิ่มความเสี่ยงต่อการ
เกิดภาวะ “ไตล้มเหลวอย่างเฉียบพลัน” (acute renal failure)
ดังนั้น ในทางปฏิบัตอิจึงไม่ควรให้เริ่มให้ยา Metformin ในวันที่ฉีดสารทึบแสง
และให้รออีกสองสามวันค่อยกินยาต่อ เมื่อการทำงานของไตเป็นปกติเสียก่อน
เกี่ยวกับการเกิดภาวะ Lactic acidosis...
ยาลดน้ำตาล Metformin จะไม่ค่อยทำให้เกิดภาวะดังกล่าว ถ้าหากใช้ยาตามที่กำหนด
แต่มีรายงานว่า คนที่กินยา metformin แล้วพบว่าเลือดเป็นกรด lactic acidosis
มักจะเป็นคนไข้ที่เป็นโรคต่างๆ โดยโรคเหล่านั้นสามารถทำให้เกิด lactic acid
เช่น ภาวะหัวใจล้มเหลว, ขาดออกซิเจน, เกิดการอักเสบติดเชื้อย่างรุนแรง,
และอื่น ๆ
เมื่อมีการใช้ metformin...
ถ้าหากท่านใช้ยาตามคำแนะนำตามฉลากยา หรือตามที่แพทย์สั่ง ความเสี่ยง
ต่อการเกิดภาวะ lactic acidosis แทบจะเป็นศูนย์ หรือใกล้ศูนย์
จากการใช้ยา Metformin...
มีรายงานว่า โดยตัวของยา metformin สามารถทำให้เกิดเลือดเป็นกรด
Lactic acidosis เมื่อคนไข้กินยาเกินขนาดเท่านั้น หรือมียา metformin ในกระแส
เลือดที่มีความเข็มข้นสูงในคนที่เป็นโรคไตทำงานพรอ่ง (renal insufficiency)
ดังนั้น ถ้าท่านสามารถใช้ยา Metformin ตามที่กำหนด ไม่ใช้ยาเกินกำหนด
โอกาสที่จะเกิดภาวะเลือดเป็นกรด(lactic acidosis) ชนิดที่เป็นอันตรายต่อ
ชีวิต (fatal one) ไม่น่าเกิด ...สามารถตัดออกไปได้
PREVIOUS : P. 10: Common Inducers, Inhibitors, and Substrates of Select CYP450 Isozymes
NEXT : P. 12 : Thiozolidinediones
ในการใช้ยา Metformin ท่านควรกินยาพร้อมอาหารเพื่อลดอาการไส้ท้อง
และการใช้ยาดังกล่าว อาจก่อให้เกิดปัญหาด้านการดูดซึมของ ไวตามิน B12
ซึ่งอาจเป็นปัญหาทำให้เกิดภาวะขาดไวตามิน B12 และเป็นโรคเลือดจาง
ในที่สุด
Metformin ทำให้เกิดความบกพร่องในการดูดซึม B12 ได้อย่างไรไม่
เป็นที่ทราบชัด อย่างไรก็ตาม การใช้ยา (oral or injection) B12 หรือการให้
calcium อาจแก้ปัญหานั้นได้
Metformin เมื่อเข้าสู่ร่างกายจะไม่ผ่านกระบวนการทางเคมี (metabolism)
และถูกกำจัดออกจากร่างกายทางไต (tubular secretion & glomerular
Filtration)
Metformin เมื่อเข้าสู่ร่างกายจะมีโมเลกูลเป็นประจุไฟฟ้าเป็นบวก (cationic)
และสามารถออกฤทธิ์แข่งขัน (competition) กับยาที่มีประจุไฟฟ้าบวก เพื่อ
จะได้ถูกขับออกทางไต โดยผ่านกระบวนการทาง organic cation transporters
ยาต่าง ๆ ที่จะทำหน้าที่แข่งขันกับ Metformin ตามที่กล่าว ได้แก่:
Procainamide, Digoxin, quinidine, trimethoprim, และ vancomycin
ซึ่งต่างมีประจุไฟฟ้าบวกเหมือนกัน
ส่วนยา cimetidine ซึ่งเป็นยาที่สามารถซื้อหาได้เองจากร้านขายยา
เมื่อคนไข้ใช้ตัวนี้ ร่วมกับยา metformin สามารถทำใหเกิดภาวะเลือดเป็น
กรด Lactic acidosis
ข้องบ่งชี้วา คนไข้เกิดภาวะบกพร่องการทำงานของไต (Renal insufficiency)...
เมื่อเราตรวจพบว่า creatinine ในกระแสเลือดของเขา มีค่าสูงกว่าปกติ
โดยในชายกำหนดค่าไว้ที่ระดับ creatinine ≥ 1.5 mg/dL
และในหญิงค่าของ creatinine ≥ 1.4 mg/ dL
ในกรณีดังกล่าว เขาห้อามใช้ยา Metformin (ยา่จะถูกขับออกทางไต)
ในคนสูงอายุ ซึ่งมีมวลกล้ามเนื้อน้อย ควรทำการตรวจ creatinine clearance
ก่อนที่ใจใช้ยา Metformin ทุกครั้ง และถ้า creatinine clearance rate
มีค่าต่ำกว่า 70 – 80 ml/min ก็ไม่ควรใช้ยา Metformin เช่นกัน
ในระหว่างการฉีดสารทึบแสงเข้าสู่เสนเลือดดำ สามารถเพิ่มความเสี่ยงต่อการ
เกิดภาวะ “ไตล้มเหลวอย่างเฉียบพลัน” (acute renal failure)
ดังนั้น ในทางปฏิบัตอิจึงไม่ควรให้เริ่มให้ยา Metformin ในวันที่ฉีดสารทึบแสง
และให้รออีกสองสามวันค่อยกินยาต่อ เมื่อการทำงานของไตเป็นปกติเสียก่อน
เกี่ยวกับการเกิดภาวะ Lactic acidosis...
ยาลดน้ำตาล Metformin จะไม่ค่อยทำให้เกิดภาวะดังกล่าว ถ้าหากใช้ยาตามที่กำหนด
แต่มีรายงานว่า คนที่กินยา metformin แล้วพบว่าเลือดเป็นกรด lactic acidosis
มักจะเป็นคนไข้ที่เป็นโรคต่างๆ โดยโรคเหล่านั้นสามารถทำให้เกิด lactic acid
เช่น ภาวะหัวใจล้มเหลว, ขาดออกซิเจน, เกิดการอักเสบติดเชื้อย่างรุนแรง,
และอื่น ๆ
เมื่อมีการใช้ metformin...
ถ้าหากท่านใช้ยาตามคำแนะนำตามฉลากยา หรือตามที่แพทย์สั่ง ความเสี่ยง
ต่อการเกิดภาวะ lactic acidosis แทบจะเป็นศูนย์ หรือใกล้ศูนย์
จากการใช้ยา Metformin...
มีรายงานว่า โดยตัวของยา metformin สามารถทำให้เกิดเลือดเป็นกรด
Lactic acidosis เมื่อคนไข้กินยาเกินขนาดเท่านั้น หรือมียา metformin ในกระแส
เลือดที่มีความเข็มข้นสูงในคนที่เป็นโรคไตทำงานพรอ่ง (renal insufficiency)
ดังนั้น ถ้าท่านสามารถใช้ยา Metformin ตามที่กำหนด ไม่ใช้ยาเกินกำหนด
โอกาสที่จะเกิดภาวะเลือดเป็นกรด(lactic acidosis) ชนิดที่เป็นอันตรายต่อ
ชีวิต (fatal one) ไม่น่าเกิด ...สามารถตัดออกไปได้
PREVIOUS : P. 10: Common Inducers, Inhibitors, and Substrates of Select CYP450 Isozymes
NEXT : P. 12 : Thiozolidinediones
ปฏิกิริยาระหว่างยาในคนเป็นเบาหวาน P. 10: Common Inducers, Inhibitors, and Substrates of Select CYP450 Isozymes
Jan. 21, 2014
Short-acting secretagogues. Nateglinide เป็นยาลดน้ำตาล
ซึ่งถูกทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีโดยเอ็นไซม์ CYP2C9 (70%)
และเอ็นไซม์ CYP3A4 (30%) แต่ยังไม่มีรายงานว่า มีปฏิกิริยาระหว่างยา
กับยาที่น่ากลัวแต่อย่างใด
Repaglinide เป็นยาเม็ดลดระดับน้ำตาล ออกฤทธิ์เร็ว โดยการกระตุ้นตับอ่อน
ให้สร้างฮอร์โมนอินซูลิน ถูกทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
โดยเอ็นไซม์ CYP3A4 และ CYP2C8 จากนั้น ยาที่ถูกเปลี่ยนแปลงจะผ่าน
กระบวนการ glucuronidation (phase II drug metabolism )
ปฏิกิริยาระหว่างยา กับยาที่มีความรุนแรงอาจเกิดขึ้นกับการใช้ยา gemifibrfozil
ซึ่งเป็นยาที่ใช้ลดไขมัน triglyceride ในกระแสเลือด
และจากการใช้ยา gemfirozil ในคนไข้ที่เป็นเบาหวาน เมื่อได้รับยาลดน้ำตาล
ชื่อ repaglinide จะทำให้ระดับของยาในกระแลเลือดสูงขึ้นเป็น 8 เท่า
ทั้งนี้่เพราะยา gemfibrozil เป็นยาที่ทำหน้าทียับยั้ง (inhibitor) CYP2C8
ผลจากการใช้ยาสองชนิดร่วมกัน (gemfibrozil & repaglinide) จะทำให้เกิด
ภาวะน้ำตาลในกระแสเลือดลดต่ำเป็นเวลานาน ( prolong hypoglycemia) ได้
นอกจากนั้น การให้ยายับยั้ง (inhibitors) เอ็นไซม์ CYP3A4 เช่น azole antifungal agents,
และ erythromycin derivatvies อาจทำให้เพิ่มฤทธิ์ลดระดับน้ำตาลของยา Replaginide
เป็นเหตุทำให้ระดับน้ำตาลในกระแสเลือดลดต่ำได้
ส่วนยาที่ชักนำ (inducers) ทำงานของเอ็นไซม์ CYP2C8/3A4 อาจลดประสิทธิภาพ
การทำงานของยา repaglinide ลง เป็นเหตุให้ระดับน้ำตาลในกระแสเลือดเพิ่มสูงขึ้น
และอาจจำเป็นต้องเพิ่มขนาดยา (dose) repaglinde ขึ้น
ปฏิกิริยาระหว่าง ยา และโรค (drug-disease) อาจเกิดขึ้นในกรณีที่มีการทำงาน
ของตับเสื่อมลงได้ โดยมีความเสี่ยงต่อการทำให้เกิดภาวะน้ำตาลในเลือด
ลดต่ำลง (hypoglycemia)
สำหรับในกรณีของคนเป็นโรคไต...
ปรากฏว่า ไม่จำเป็นต้องมีกาปรับขนาดของยาลดน้ำตาล จนกว่าโรคไตจะเป็น
ระยะสุดท้าย (end-stage renal disease)
ข้อสังเกตุ...
เมื่อเราใช้ยาลดระดับน้ำตาล sulfonylureas ในระดับต่ำแล้ว ทำให้เกิดภาวะ
น้ำตาลลดต่ำ (hypoglycemia) ในคนเป็นเบาหวานประเภทสอง...
ยาที่เหมาะกับคนไข้ คือยา repaglinide หรือ nateglinide
เพราะยาทั้งสองชนิดไม่ค่อยจะมีผลกระทบทำให้เกิดปฏิกิริยาระหว่าง อาหาร และยา....
โดยที่ยาทั้งสองควรให้รับทานก่อนอาหาร ซึ่งสามารถควบคุมการหลั่งอินซูลินได้ดี
PREV SECTION : P. 9: Pharmacokinetic Interactions- Diabetes Drug Interactions.
NEXT SECTION: P. 11: Metformin
Short-acting secretagogues. Nateglinide เป็นยาลดน้ำตาล
ซึ่งถูกทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีโดยเอ็นไซม์ CYP2C9 (70%)
และเอ็นไซม์ CYP3A4 (30%) แต่ยังไม่มีรายงานว่า มีปฏิกิริยาระหว่างยา
กับยาที่น่ากลัวแต่อย่างใด
Repaglinide เป็นยาเม็ดลดระดับน้ำตาล ออกฤทธิ์เร็ว โดยการกระตุ้นตับอ่อน
ให้สร้างฮอร์โมนอินซูลิน ถูกทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
โดยเอ็นไซม์ CYP3A4 และ CYP2C8 จากนั้น ยาที่ถูกเปลี่ยนแปลงจะผ่าน
กระบวนการ glucuronidation (phase II drug metabolism )
ปฏิกิริยาระหว่างยา กับยาที่มีความรุนแรงอาจเกิดขึ้นกับการใช้ยา gemifibrfozil
ซึ่งเป็นยาที่ใช้ลดไขมัน triglyceride ในกระแสเลือด
และจากการใช้ยา gemfirozil ในคนไข้ที่เป็นเบาหวาน เมื่อได้รับยาลดน้ำตาล
ชื่อ repaglinide จะทำให้ระดับของยาในกระแลเลือดสูงขึ้นเป็น 8 เท่า
ทั้งนี้่เพราะยา gemfibrozil เป็นยาที่ทำหน้าทียับยั้ง (inhibitor) CYP2C8
ผลจากการใช้ยาสองชนิดร่วมกัน (gemfibrozil & repaglinide) จะทำให้เกิด
ภาวะน้ำตาลในกระแสเลือดลดต่ำเป็นเวลานาน ( prolong hypoglycemia) ได้
นอกจากนั้น การให้ยายับยั้ง (inhibitors) เอ็นไซม์ CYP3A4 เช่น azole antifungal agents,
และ erythromycin derivatvies อาจทำให้เพิ่มฤทธิ์ลดระดับน้ำตาลของยา Replaginide
เป็นเหตุทำให้ระดับน้ำตาลในกระแสเลือดลดต่ำได้
ส่วนยาที่ชักนำ (inducers) ทำงานของเอ็นไซม์ CYP2C8/3A4 อาจลดประสิทธิภาพ
การทำงานของยา repaglinide ลง เป็นเหตุให้ระดับน้ำตาลในกระแสเลือดเพิ่มสูงขึ้น
และอาจจำเป็นต้องเพิ่มขนาดยา (dose) repaglinde ขึ้น
ปฏิกิริยาระหว่าง ยา และโรค (drug-disease) อาจเกิดขึ้นในกรณีที่มีการทำงาน
ของตับเสื่อมลงได้ โดยมีความเสี่ยงต่อการทำให้เกิดภาวะน้ำตาลในเลือด
ลดต่ำลง (hypoglycemia)
สำหรับในกรณีของคนเป็นโรคไต...
ปรากฏว่า ไม่จำเป็นต้องมีกาปรับขนาดของยาลดน้ำตาล จนกว่าโรคไตจะเป็น
ระยะสุดท้าย (end-stage renal disease)
ข้อสังเกตุ...
เมื่อเราใช้ยาลดระดับน้ำตาล sulfonylureas ในระดับต่ำแล้ว ทำให้เกิดภาวะ
น้ำตาลลดต่ำ (hypoglycemia) ในคนเป็นเบาหวานประเภทสอง...
ยาที่เหมาะกับคนไข้ คือยา repaglinide หรือ nateglinide
เพราะยาทั้งสองชนิดไม่ค่อยจะมีผลกระทบทำให้เกิดปฏิกิริยาระหว่าง อาหาร และยา....
โดยที่ยาทั้งสองควรให้รับทานก่อนอาหาร ซึ่งสามารถควบคุมการหลั่งอินซูลินได้ดี
PREV SECTION : P. 9: Pharmacokinetic Interactions- Diabetes Drug Interactions.
NEXT SECTION: P. 11: Metformin
ปฏิกิริยาระหว่างยาในคนเป็นเบาหวาน P. 9: Pharmacokinetic Interactions- Diabetes Drug Interactions.
Jan.17,2014
Sulfonylurea drugs.
มีปฏิกิริยาระหว่างยา-ยาหลายอย่างที่เกิดขึ้นกับยาลดน้ำตาล sulfonylureas
เช่น ยา sulfonylureas โดยเฉพาะ chlorpropramide เมื่อดื่มแอลกอฮอลร่วม
จะทำให้เกิดปฏิกิริยาด้วยอาการหน้าแดงจากเลือดฉีด (facial flushig reaction)
ยา disulfiram...
สามารถยับยั้งเอ็นไซม์ aldehyde dehdrogenase เป็นเหตุให้ระดับของ
Acetdaldehyde สูงขึ้น
สาร acetaldehyde สามารถทำให้เกิดเกิดอาการหน้าแดง (flushing)
และมีอาการคลื่นไส้ อาเจียนเมื่อระดับสารดังกล่าวสูงขึ้น
Sulfonylureas เป็นสารที่ก่อให้เกิดปฏิกิริยาชนิด protein-binding drug
Interactions โดยเฉพาะกลุ่มที่ผลิตออกมาเป็นครั้งแรก (first generation)
เช่น chlorpropamide, tolazmide, และ tolbuamide) ซึ่งเป็นยาที่จะจับตัว
กับโปรตีนในกระแสเลือด...และเชื่อว่า จะเพิ่มความเสี่ยงให้เกิดปฏิกิริยา
ชนิด protein-binding drug interactions
ถ้าปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น มันควรเป็นการเกิดขึ้นในระยะสั้นเท่านั้น
เมื่อมีการเพิ่มยารักษาตัวที่สองร่วมกับยา sulfonylureas โดยยาที่เพิ่มนั้นจะ
ไปทำการให้ยา sulfonylurea ถูกปล่อยสู่กระแสเลือด ทำให้ประสิทธิภาพของยา
Sulfhonylureas เพิ่มขึ้น เป็นเหตุให้ระดับน้ำตาลลดลง
Sulfonylureas เป็นสารที่ถูกกระทำ (metabolize) โดยเอ็นไซม์ CYP2C9
จะเรียกว่า sulfonylureas เป็น CYP2C9 substrates ก็ได้...
เมื่อมีการให้ยาที่เป็น inducers และ/หรือ inhibitors ของเอ็นไซม์ CYP2C9
ย่อมก่อให้เกิดผลกระทบ “เมทตาบอลิสม์” ของ sulfonylureas ได้
Sulfonylureas มีปฏิกิริยาระหว่าง “โรค-ยา”. (disease-drug interactions)
และปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่จะเกิดขึ้น ซึ่งจะทำใหยาประสิทธิภาพ(Active)
หรือไม่ไม่ประสิทธิภาพ (inactive)
เมื่อการทำงานของตับเสื่อมลง จะพบว่า เมทตาบอลิสฒของ sulfonylureas
อาจเปลี่ยนแปลงไป
เมื่อ sulfonylureas ถูกกระทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี (metabolites)
ซึ่งมีทั้งส่วนที่ยังสามารถทำงานได้ หรือไม่สามารถทำงานได้ จะถูกขับออก
ทางไต...ในกรณีที่ไตเสื่อมสภาพ ย่อมทำให้การขับถ่ายสารดังกล่าวลดลง
PREVIOUS SECTION: P. 8: Pharmacokinetic Interactions- Drug-Disease Interactions.
NEXT SECTION : 10: Common Inducers, Inhibitors, and Substrates of Select CYP450 Isozymes
Sulfonylurea drugs.
มีปฏิกิริยาระหว่างยา-ยาหลายอย่างที่เกิดขึ้นกับยาลดน้ำตาล sulfonylureas
เช่น ยา sulfonylureas โดยเฉพาะ chlorpropramide เมื่อดื่มแอลกอฮอลร่วม
จะทำให้เกิดปฏิกิริยาด้วยอาการหน้าแดงจากเลือดฉีด (facial flushig reaction)
ยา disulfiram...
สามารถยับยั้งเอ็นไซม์ aldehyde dehdrogenase เป็นเหตุให้ระดับของ
Acetdaldehyde สูงขึ้น
สาร acetaldehyde สามารถทำให้เกิดเกิดอาการหน้าแดง (flushing)
และมีอาการคลื่นไส้ อาเจียนเมื่อระดับสารดังกล่าวสูงขึ้น
Sulfonylureas เป็นสารที่ก่อให้เกิดปฏิกิริยาชนิด protein-binding drug
Interactions โดยเฉพาะกลุ่มที่ผลิตออกมาเป็นครั้งแรก (first generation)
เช่น chlorpropamide, tolazmide, และ tolbuamide) ซึ่งเป็นยาที่จะจับตัว
กับโปรตีนในกระแสเลือด...และเชื่อว่า จะเพิ่มความเสี่ยงให้เกิดปฏิกิริยา
ชนิด protein-binding drug interactions
ถ้าปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น มันควรเป็นการเกิดขึ้นในระยะสั้นเท่านั้น
เมื่อมีการเพิ่มยารักษาตัวที่สองร่วมกับยา sulfonylureas โดยยาที่เพิ่มนั้นจะ
ไปทำการให้ยา sulfonylurea ถูกปล่อยสู่กระแสเลือด ทำให้ประสิทธิภาพของยา
Sulfhonylureas เพิ่มขึ้น เป็นเหตุให้ระดับน้ำตาลลดลง
Sulfonylureas เป็นสารที่ถูกกระทำ (metabolize) โดยเอ็นไซม์ CYP2C9
จะเรียกว่า sulfonylureas เป็น CYP2C9 substrates ก็ได้...
เมื่อมีการให้ยาที่เป็น inducers และ/หรือ inhibitors ของเอ็นไซม์ CYP2C9
ย่อมก่อให้เกิดผลกระทบ “เมทตาบอลิสม์” ของ sulfonylureas ได้
Sulfonylureas มีปฏิกิริยาระหว่าง “โรค-ยา”. (disease-drug interactions)
และปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่จะเกิดขึ้น ซึ่งจะทำใหยาประสิทธิภาพ(Active)
หรือไม่ไม่ประสิทธิภาพ (inactive)
เมื่อการทำงานของตับเสื่อมลง จะพบว่า เมทตาบอลิสฒของ sulfonylureas
อาจเปลี่ยนแปลงไป
เมื่อ sulfonylureas ถูกกระทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี (metabolites)
ซึ่งมีทั้งส่วนที่ยังสามารถทำงานได้ หรือไม่สามารถทำงานได้ จะถูกขับออก
ทางไต...ในกรณีที่ไตเสื่อมสภาพ ย่อมทำให้การขับถ่ายสารดังกล่าวลดลง
PREVIOUS SECTION: P. 8: Pharmacokinetic Interactions- Drug-Disease Interactions.
NEXT SECTION : 10: Common Inducers, Inhibitors, and Substrates of Select CYP450 Isozymes
ปฏิกิริยาระหว่างยาในคนเป็นเบาหวาน P. 8: Pharmacokinetic Interactions- Drug-Disease Interactions.
Jan. 17,2014
มีโรคหลายอย่างที่เกิดขึ้นร่วมกัน...
สามารถกระทบกับเมทตาบอลิสฒ์ หรือการเปลี่ยนแปลงทางปฏิกิริยา
ทางเคมีของยาในคนไข้เป็นโรคเบาหวานได้
เป็นที่รู้กันว่า ในคนที่เป็นโรคเบาหวาน เขามีโอกาสเกิดเป็นโรคร่วมกัน
หลายอย่าง เป็นต้นว่า โรคระบบเส้นเลือด-หัวใจ, โรคไต, โรคกระเพาะ
และลำไส้, โรคระบบประสาท, โรคต่อมไทรอย์ และภาวะแทรกซ้อน
ทางตา (opthalmological complications)
ในคนที่เป็นโรคดังกล่าวอาจเพิ่มโอกาสให้เกิดปฏิกิริยาระหว่างยา กับ
โรค (drug-disease interactions) ได้ ยกตัวอย่าง การให้ยา Metformin ในคนไข้
ที่เป็นโรคไต สามารถทำให้เกิดปฏิกิริยาระหว่างยา กับโรคไตได้:
ในคนไข้ที่เป็นเบาหวาน เมื่อระดับ creatinine ≥ 1.4 mg/dL ในหญิง,
≥ 1.5 mg/dL ในชาย สมควรให้ยุติการใช้ยา Metformin เพราะในกรณี
เช่นนี้จะทำให้ยา metformin มีปริมาณความเข้มข้นสูง สามารถทำให้
เกิดภาวะ lactic acidosis...
ต้องระวัง !
Previous Section: P. 7: Pharmacokinetic Interactions- Elimination interactions.
Next Section: P. 9: Pharmacokinetic Interactions- Diabetes Drug Interactions.
มีโรคหลายอย่างที่เกิดขึ้นร่วมกัน...
สามารถกระทบกับเมทตาบอลิสฒ์ หรือการเปลี่ยนแปลงทางปฏิกิริยา
ทางเคมีของยาในคนไข้เป็นโรคเบาหวานได้
เป็นที่รู้กันว่า ในคนที่เป็นโรคเบาหวาน เขามีโอกาสเกิดเป็นโรคร่วมกัน
หลายอย่าง เป็นต้นว่า โรคระบบเส้นเลือด-หัวใจ, โรคไต, โรคกระเพาะ
และลำไส้, โรคระบบประสาท, โรคต่อมไทรอย์ และภาวะแทรกซ้อน
ทางตา (opthalmological complications)
ในคนที่เป็นโรคดังกล่าวอาจเพิ่มโอกาสให้เกิดปฏิกิริยาระหว่างยา กับ
โรค (drug-disease interactions) ได้ ยกตัวอย่าง การให้ยา Metformin ในคนไข้
ที่เป็นโรคไต สามารถทำให้เกิดปฏิกิริยาระหว่างยา กับโรคไตได้:
ในคนไข้ที่เป็นเบาหวาน เมื่อระดับ creatinine ≥ 1.4 mg/dL ในหญิง,
≥ 1.5 mg/dL ในชาย สมควรให้ยุติการใช้ยา Metformin เพราะในกรณี
เช่นนี้จะทำให้ยา metformin มีปริมาณความเข้มข้นสูง สามารถทำให้
เกิดภาวะ lactic acidosis...
ต้องระวัง !
Previous Section: P. 7: Pharmacokinetic Interactions- Elimination interactions.
Next Section: P. 9: Pharmacokinetic Interactions- Diabetes Drug Interactions.
วันเสาร์ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2557
ปฏิกิริยาระหว่างยาในคนเป็นเบาหวาน P. 7: Pharmacokinetic Interactions- Elimination interactions.
Jan.17, 2014
ยาต่างๆ ที่คนเรารับประทานเข้าไป...จะต้องถูกขับออกจากร่างกาย
อวัยวะที่สำคัญที่ทำหน้าที่กำจัดยาดังกล่าว คือ ไต และตับ
นอกจากนั้น ยายังถูกขับจากกายทางน้ำลาย, เหงือ, หรือทางลมสหาย
ใจออกได้
การกำจัดยาออกทาวงไต จะถูกขับออกไปในรูปของน้ำดี...
ปฏิกิริยาที่เกิดจากการขับออกทางน้ำดีมีไม่ค่อยมาก แต่ปฏิกิริยาทีเกิด
จากยา และโรค (Drug-disease) จะเกิดขึ้นได้เมื่อเกิดเป็นโรคตัย หรือ
โรคทางเดินน้ำดี (biliary disease)
ปฏิกิริยาของยา-ยา ที่เกิดทางไต จะจะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยภาวะ pH ของ
ปัสสาวะ และ pH ของยา ....
ถ้า pH ของปัสสาวะ และ pH ของยามีค่าเท่ากัน จะทำให้ยาถูกดูดซึมกลับ
(resorption) เพิ่มขึ้น
เมื่อมียาสองขนานต้องถูกขับถ่ายออกทางเดียวกัน...
จะเกิดภาวะการต่สู้ระหว่างยาท้งสอง โดยยาตัวหนึ่งอาจยับยั้งไม่ให้ยาอีก
ตัวถุกขับออกจากร่างกาย
ยกตัวอย่าง ยารักษาเบาหวาน Metformin และยาลดกรด cimetidine
ปรากฏว่า ยาทั้งสองต่างมกระแสไฟฟ้าเป็นบวก(positively charged drugs)
เมื่อมีการขับออกทางไต...ยาทั้งสองจะเกิด
การแย่งชิงในด้านการขับถ่ายทางไต (renal tubular secretion) เป็นเหตุ
ให้มียา metformin ในกระแสเลือดในปริมาณสูง
จากกรณีดังกล่าว เมื่อมี Metformin ในปริมาณสูงสามารถทำใหระดับน้ำ
ตาลลดต่ำ หรืออาจก่อให้เกิดภาวะเลือดเป็นกรด lactic acidosis....
ซึ่งจะทำให้เกิดมีอาการเหนื่อยเพลีย, ปวดกล้ามเนื้อ, หายใจลำบาก,
แน่นท้อง, มีเหงื่อเย็น, สั่น, ปวดหัว, ไวใจเต้นแรง, รู้สึกเสียวซ่าตามมือและเท้า...
Previous Section: P. 6: Pharmacokinetic Interactions- Metabolism interactions.
Next Section: P. 8: Pharmacokinetic Interactions- Drug-Disease Interactions.
ยาต่างๆ ที่คนเรารับประทานเข้าไป...จะต้องถูกขับออกจากร่างกาย
อวัยวะที่สำคัญที่ทำหน้าที่กำจัดยาดังกล่าว คือ ไต และตับ
นอกจากนั้น ยายังถูกขับจากกายทางน้ำลาย, เหงือ, หรือทางลมสหาย
ใจออกได้
การกำจัดยาออกทาวงไต จะถูกขับออกไปในรูปของน้ำดี...
ปฏิกิริยาที่เกิดจากการขับออกทางน้ำดีมีไม่ค่อยมาก แต่ปฏิกิริยาทีเกิด
จากยา และโรค (Drug-disease) จะเกิดขึ้นได้เมื่อเกิดเป็นโรคตัย หรือ
โรคทางเดินน้ำดี (biliary disease)
ปฏิกิริยาของยา-ยา ที่เกิดทางไต จะจะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยภาวะ pH ของ
ปัสสาวะ และ pH ของยา ....
ถ้า pH ของปัสสาวะ และ pH ของยามีค่าเท่ากัน จะทำให้ยาถูกดูดซึมกลับ
(resorption) เพิ่มขึ้น
เมื่อมียาสองขนานต้องถูกขับถ่ายออกทางเดียวกัน...
จะเกิดภาวะการต่สู้ระหว่างยาท้งสอง โดยยาตัวหนึ่งอาจยับยั้งไม่ให้ยาอีก
ตัวถุกขับออกจากร่างกาย
ยกตัวอย่าง ยารักษาเบาหวาน Metformin และยาลดกรด cimetidine
ปรากฏว่า ยาทั้งสองต่างมกระแสไฟฟ้าเป็นบวก(positively charged drugs)
เมื่อมีการขับออกทางไต...ยาทั้งสองจะเกิด
การแย่งชิงในด้านการขับถ่ายทางไต (renal tubular secretion) เป็นเหตุ
ให้มียา metformin ในกระแสเลือดในปริมาณสูง
จากกรณีดังกล่าว เมื่อมี Metformin ในปริมาณสูงสามารถทำใหระดับน้ำ
ตาลลดต่ำ หรืออาจก่อให้เกิดภาวะเลือดเป็นกรด lactic acidosis....
ซึ่งจะทำให้เกิดมีอาการเหนื่อยเพลีย, ปวดกล้ามเนื้อ, หายใจลำบาก,
แน่นท้อง, มีเหงื่อเย็น, สั่น, ปวดหัว, ไวใจเต้นแรง, รู้สึกเสียวซ่าตามมือและเท้า...
Previous Section: P. 6: Pharmacokinetic Interactions- Metabolism interactions.
Next Section: P. 8: Pharmacokinetic Interactions- Drug-Disease Interactions.
ปฏิกิริยาระหว่างยาในคนเป็นเบาหวาน P. 6: Pharmacokinetic Interactions- Metabolism interactions.
Jan. 25, 2014
Metabolism interactions.
หมายถึงการเปลี่ยนแปลงทางปฏิกิริยาเคมี เป็นเหตุทำให้ยานั้น ๆ
มีพิษมากขึ้น หรือมีพิษน้อยลง, มีประสิทธิภาพ (active) หรือไร้ประสทิธิภาพ (inactive),
หรือถูกขับออกจากร่างกายได้ง่ายขึ้น
อวัยวะหลักที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงยาทั้งหลาย คือ ตับนั้น
เอง (แม้ว่า การเปลี่ยนแปลงนั้น สามาถเกิดในอวัยวะอย่างอื่นได้ก็ตาม
เช่น ไต, ปอด, กระเพาะ และลำไส้, เลือด, และอวัยวะอื่นๆ)
และพบว่า มียาจำนวนมากมายสามารถลด หรือยับยั้ง (decrease) หรือชัก
นำ หรือเพิ่ม (increase) กระบวนการเมตาบอลิสม์ หรือไม่มีผลกระทบต่อ
เอ็นไซม์ที่อยู่ในกลุ่ม CYP450 ได้
ดังนั้น การยับยั้ง หรือการลดเมทตาบอลิสม์ของเอ็นไซม์ที่มีบทบาทเกี่ยว
กับยาตัวใด ย่อมมีผลกระทบต่อความเข็มข้นของยาตัวนั้นให้มีมีค่าเพิ่มขึ้น
ในทางคลินิค...
มีเอ็นไซม์ไม่กี่ตัวที่สามารถกระตุ้น (inducders) หรือเพิ่มประสิทธิภาพในการ
ทำงานให้เพิ่มขึ้นในคนไข้ที่เป็นโรคเบาหวานได้ ที่ควรรู้มีสองตัว คือ CYP2C9 และ
CYP3A4 และยาที่จะถูกทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี (metabolize)
โดยเอ็นไซม์ เราเรียกว่า Substrates
ถ้าหากยาที่เราให้แก่คนไข้ มีศักยภาพยับยั้ง (inhibitor) หรือเพิ่มการทำ
งานของเอ็นไซม์ (inducer) ได้ ย่อมมีผลกระทบต่อประสิทธิภาพของยา
ที่ใช้กับคนไข้ได้
ยาแต่ละตัวอาจมีรายละเอียดที่ซับซ้อนได้...
เช่น เป็นตัวถูกกระทำ (substrate), เป็นตัวยับยั้ง (inhibitor), หรือเป็นตัว
ชักนำ (inducer) ของเอ็นไซม์เพียงตัวเดียว หรือหลายตัว
ยกตัวอย่าง quinidine เป็น inhibitor ของเอ็นไซม์ CYP2D6
แต่ใยขณะเดียวกัน จะถูกกระทำ (metabolized) โดยเอ็นไซม์ CYP3A4
มีการรายงานว่า...
ยาที่คนไข้ใช้รักษาโรค ปรากฏว่า มีมากกว่า 50% จะถูกทำให้เกิดการเปลี่ยน
แปลงทางเคมี (metabolized) โดยเอ็นไซม์ CYP3A4 หรือ CYP2D6 และ
ยาต่าง ๆ ที่ใช้รักษาโรคเบาหวานจะตกอยู่ภายใต้เอ็นไซม์ทั้งสอง
คนที่มีความเสียงต่อการเกิดปฏิกิริยาระหว่างยา นอกจากพบได้ในเด็กละอ่อน,
เด็กเล็ก, คนสูงอายุ และคนที่เป็นอวัยวะที่สำคัญ เช่น โรคไต และโรคตับ
โดยทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางปฏิกิริยาทางเคมีช้ากว่าผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพดี
การสูบบุหรี่สามารถกระตุ้นเอ็นไซม์ (induce) และการดื่มแอลกอฮอล์ อาจกระ
ตุ้น (induce) หรือยับยั้ง (inhibit) การเปลี่ยนแปลงปฏิกิริยาทางเคมีได้
นอกจากนั้น เขายังพบว่า ความผิดปกติทางพันธุกรรมยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับ
การเปลี่ยนแปลงทางปฏิกิริยาเคมีของยา (substrates) ได้ด้วย
ยกตัวอย่าง คนชาวเอเชีย 0 – 1 % และชาว caucasians 5% ถึง 10%
จะมีเอ็นไซม์ CYP2D6 ที่มีศักยะภาพต่ำ (little activity) จึงเป็นเหตุให้
เอ็นไซม์ CYP2D6 ทำการเปลียนแปลงยาทางเคมีได้ไม่ดี
และผลที่ตามมา จึงเป็นเหตุให้ยา (substrate) ต้องขึ้นกับเอ็นไซม์ตัว
อื่นเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางปฏิกิริยาต่อไป
Previous Section: P. 5: Pharmacokinetic Interactions- Distribution interactions
Next Section: P. 7: Pharmacokinetic Interactions- Elimination interactions.
Metabolism interactions.
หมายถึงการเปลี่ยนแปลงทางปฏิกิริยาเคมี เป็นเหตุทำให้ยานั้น ๆ
มีพิษมากขึ้น หรือมีพิษน้อยลง, มีประสิทธิภาพ (active) หรือไร้ประสทิธิภาพ (inactive),
หรือถูกขับออกจากร่างกายได้ง่ายขึ้น
อวัยวะหลักที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงยาทั้งหลาย คือ ตับนั้น
เอง (แม้ว่า การเปลี่ยนแปลงนั้น สามาถเกิดในอวัยวะอย่างอื่นได้ก็ตาม
เช่น ไต, ปอด, กระเพาะ และลำไส้, เลือด, และอวัยวะอื่นๆ)
และพบว่า มียาจำนวนมากมายสามารถลด หรือยับยั้ง (decrease) หรือชัก
นำ หรือเพิ่ม (increase) กระบวนการเมตาบอลิสม์ หรือไม่มีผลกระทบต่อ
เอ็นไซม์ที่อยู่ในกลุ่ม CYP450 ได้
ดังนั้น การยับยั้ง หรือการลดเมทตาบอลิสม์ของเอ็นไซม์ที่มีบทบาทเกี่ยว
กับยาตัวใด ย่อมมีผลกระทบต่อความเข็มข้นของยาตัวนั้นให้มีมีค่าเพิ่มขึ้น
ในทางคลินิค...
มีเอ็นไซม์ไม่กี่ตัวที่สามารถกระตุ้น (inducders) หรือเพิ่มประสิทธิภาพในการ
ทำงานให้เพิ่มขึ้นในคนไข้ที่เป็นโรคเบาหวานได้ ที่ควรรู้มีสองตัว คือ CYP2C9 และ
CYP3A4 และยาที่จะถูกทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี (metabolize)
โดยเอ็นไซม์ เราเรียกว่า Substrates
ถ้าหากยาที่เราให้แก่คนไข้ มีศักยภาพยับยั้ง (inhibitor) หรือเพิ่มการทำ
งานของเอ็นไซม์ (inducer) ได้ ย่อมมีผลกระทบต่อประสิทธิภาพของยา
ที่ใช้กับคนไข้ได้
ยาแต่ละตัวอาจมีรายละเอียดที่ซับซ้อนได้...
เช่น เป็นตัวถูกกระทำ (substrate), เป็นตัวยับยั้ง (inhibitor), หรือเป็นตัว
ชักนำ (inducer) ของเอ็นไซม์เพียงตัวเดียว หรือหลายตัว
ยกตัวอย่าง quinidine เป็น inhibitor ของเอ็นไซม์ CYP2D6
แต่ใยขณะเดียวกัน จะถูกกระทำ (metabolized) โดยเอ็นไซม์ CYP3A4
มีการรายงานว่า...
ยาที่คนไข้ใช้รักษาโรค ปรากฏว่า มีมากกว่า 50% จะถูกทำให้เกิดการเปลี่ยน
แปลงทางเคมี (metabolized) โดยเอ็นไซม์ CYP3A4 หรือ CYP2D6 และ
ยาต่าง ๆ ที่ใช้รักษาโรคเบาหวานจะตกอยู่ภายใต้เอ็นไซม์ทั้งสอง
คนที่มีความเสียงต่อการเกิดปฏิกิริยาระหว่างยา นอกจากพบได้ในเด็กละอ่อน,
เด็กเล็ก, คนสูงอายุ และคนที่เป็นอวัยวะที่สำคัญ เช่น โรคไต และโรคตับ
โดยทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางปฏิกิริยาทางเคมีช้ากว่าผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพดี
การสูบบุหรี่สามารถกระตุ้นเอ็นไซม์ (induce) และการดื่มแอลกอฮอล์ อาจกระ
ตุ้น (induce) หรือยับยั้ง (inhibit) การเปลี่ยนแปลงปฏิกิริยาทางเคมีได้
นอกจากนั้น เขายังพบว่า ความผิดปกติทางพันธุกรรมยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับ
การเปลี่ยนแปลงทางปฏิกิริยาเคมีของยา (substrates) ได้ด้วย
ยกตัวอย่าง คนชาวเอเชีย 0 – 1 % และชาว caucasians 5% ถึง 10%
จะมีเอ็นไซม์ CYP2D6 ที่มีศักยะภาพต่ำ (little activity) จึงเป็นเหตุให้
เอ็นไซม์ CYP2D6 ทำการเปลียนแปลงยาทางเคมีได้ไม่ดี
และผลที่ตามมา จึงเป็นเหตุให้ยา (substrate) ต้องขึ้นกับเอ็นไซม์ตัว
อื่นเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางปฏิกิริยาต่อไป
Previous Section: P. 5: Pharmacokinetic Interactions- Distribution interactions
Next Section: P. 7: Pharmacokinetic Interactions- Elimination interactions.
ปฏิกิริยาระหว่างยาในคนเป็นเบาหวาน P. 5: Pharmacokinetic Interactions- Distribution interactions
Jan.17,2014
เมื่อยาที่คนเรารับประทาน... และถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด
จากนั้น มันจะเคลื่อนตัวผ่านเซลล์ (intracellular) และอยู่ในระหว่าง
เซลล์ (extracellular) เข้าสู่ตำแหน่งที่ยาจะออกฤทธิ์
มียาหลายตัว เมื่อเข้าสู่กระแสเลือดแล้ว มันจะจับตัวกับโปรตีน
:ซึ่งอยู่ในกระแสเลือด เช่น albumin... เมื่อมันจับตัวกับโปรตีนแล้ว มันจะไม่มี
สมรรถภาพทำงานด้านเภสัช ...และยา) ที่จะมีผลในด้านการรักษา
จะต้องเป็นยาที่ไม่จับตัวกับโปรตีน (free drug)
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นจากการกระจายตัวของยาในเลือด...
ปรากฏว่า มียาหลายตัวเมื่อเข้าสู่กระแสเลือดจะจับตัวกับโปรตีนในเลือด
และเนื้อเยื่อ ซึ่งสามารถผันกลับ (reversible) และมีเพียงแต่ยาที่เป็นอิสระ...
ไม่จับตัวกับโปรตีน (unbound) เท่านั้น ที่สามารถออกฤทธิ์ทางด้านการรักษา
ส่วนยาที่จับตัวกับโปรตีนจะทำหน้าที่เป็นที่เก็บสะสมยา และปล่อยออกสู่กระแสเลือดได้
ยาหลายตัวที่อยู่ในกลุ่ม acidic drugs...
เมื่อเข้าสู่กระแสเลือด มันจะจับตัวกับโปรตีน และเข้าไปแทนที่ยาตัวอื่น
ที่จับตัวในโปรตีน (bound drug) ได้
ในคนไข้ที่ทรมานจากภาวะ hypoalbuminemia (ภาวะแอลบลูมินต่ำ)
จะพบว่า ยาซึ่งปกติจะจับตัวกับโปรตีนอาจลอยเป็นอิสระในกระแสเลือด
และอาจเป็นพิษต่อคนไข้ได้
ผลจากการศึกษาในตอนต้น ๆ ได้ให้ความสำคัญกับตัวยาที่ถูกปล่อย
จากการจับตัวกับโปรตีนเข้าสู่กระแสโลหิต..ว่ามีความสำคัญในด้านคลีนิค.
แต่ในปัจจุบัน กลับพบว่า ปฏิกิริยาระหว่างยา-ยา ที่เกี่ยวข้องกับการจับตัว
กับโปรตีน (protein binding) จะไม่ค่อยมีความสำคัญในด้านคลีนิคเท่าใดนัก
เพราะภายหลังจาก ที่ยาถูกปล่อยจากโปรตีน มันจะถูกทำลาย และ
ถูกขับออกจากร่างกายทันที
ยกตัวอย่าง...
Aspirin และ NSAIDs สามารถปลดปล่อยยา methotrexate และ warfrin
จากตำแหน่งที่มันจับตัวกับโปรตีน ให้หลุดลอยเข้าสู่กระแสโลหิต
จากปรากฏการณ์ดังกล่าว ถูกเชื่อว่ามีบทยาทสำคัญต่อการทำให้เกิดมี่
ปฏิกิริยาเกิดขึ้น แต่มาในปัจจุบัน เราไม่ถือว่ามีความสำคัญอีกต่อไป
สารต่อต้านการจับตัวของเม็ดเลือด oral anticoagulants จะออกฤทธิ์
ยับยั้งการสังเคราะห์ vitamine K- dependent clotting factors ในตับ
ยาใดที่สามารถทำให้ระดับของทั้ง vitamin K และ anticoagulants ลงได้
สามารถกระทบกับการควบการจับตัวของเม็ดเลือด (anticoagulant
control) ได้ โดยปฏิกิริยาเหล่านี้สามารถเกิดขึ้นในทางเดินของกระเพาะ
และลำไส้ (GIT) หรือเกิดในกระแสเลือดได้:
ในระบบกระเพาะลไส้ (GIT)...
ถ้าคนไข้ได้รับ warfarin และ cholestyramine พร้อม ๆ กัน จะพบว่า การดูดซึม
ของ warfarin บกพร่องได้
หรือถ้าให้สาร acidic drugs เช่น Salicylates, chloralhydrates, diazoxide,
sulphonamides, Nalidixic acid หรือ mefenamic acid ร่วมกับยา warfarin
จะปรากฏว่า ยาเหล่านี้จะไปปลดปล่อยยา warfarin ให้หลุดออกมาจากโปรตีน
ให้หลุดเข้าสู่กระแสโลหิต เป็น free warfarin ในปริมาณมากกว่าปกติ
ยาต่อไปนี้จะทำปฏิกิริยากับ warfarin:
o Antibacterials: Chloramphenicol, co-trimoxazole, macrolides, metronidazole,
some quinolones, sulphonamides, some cephalosporins, and tetracyclins
โดยยาเหล่านี้จะมีส่วนเกี่ยวข้องกับการทำให้ระพับ INR เพิ่มสูงขึ้น
o Antifungals: Fluconazole, itraconazole, ketoconazole, and miconazole
โดยยาทุกตัวจะเพิ่มการการาต่อต้านการจับตัวของเม็ดเลือด (anticoagulation)
ในคนที่ได้รับยา warfarin
o Anti-arrhythmics: Amiodarone and propafenone จะเพิ่มผลของยา warfarin
o ยาอื่น ๆ ที่ทำปฏิกิริยากับ warfarin ได้แก่:Selective serotonin re-uptake inhibitors,
tamoxifen, fibrates, HMG-CoA reductase inhibitors, thyroid replacement therapy,
H2 blockers and proton pump inhibitors, sulphinpyrazone, disulfiram, alcohol,
NSAIDs, antiplatelet agents, Co- proxamol, barbiturates, rifampicin, oral contraceptives,
aminoglutethimide, cholestyramine, carbamazepine, phenytoin, Vitamin K
and anti thyroid agents.
เราเห็นว่า ยา warfarin สามารถทำปฏิกิริยาต่างๆ มากมาย และ กลไกของ
การทำปฏิกิริยาระหว่างยามีได้แตกต่างกันได้อย่างมาก ดังนั้น เมื่อมีการใช้ยา warfarin
ร่วมกับยาเหล่านี้จำเป็นจะต้องมีการตรวจสอบอย่างใกล้ชิด
ยาบางตัวอาจมีการเปลี่ยนแปลงที่กระเพาะอาหาร และในบางราย
อาจมีการทำให้มีการปลดปล่อยจากที่ตำแหน่งยึดเกาะกับโปรตีน
PREVIOUS : P. 4 : Pharmacokinetic Interactions- Absorption interactions.
NEXT SECTION : P. 6: Pharmacokinetic Interactions- Metabolism interactions.
www.pharmainfo.net
เมื่อยาที่คนเรารับประทาน... และถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด
จากนั้น มันจะเคลื่อนตัวผ่านเซลล์ (intracellular) และอยู่ในระหว่าง
เซลล์ (extracellular) เข้าสู่ตำแหน่งที่ยาจะออกฤทธิ์
มียาหลายตัว เมื่อเข้าสู่กระแสเลือดแล้ว มันจะจับตัวกับโปรตีน
:ซึ่งอยู่ในกระแสเลือด เช่น albumin... เมื่อมันจับตัวกับโปรตีนแล้ว มันจะไม่มี
สมรรถภาพทำงานด้านเภสัช ...และยา) ที่จะมีผลในด้านการรักษา
จะต้องเป็นยาที่ไม่จับตัวกับโปรตีน (free drug)
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นจากการกระจายตัวของยาในเลือด...
ปรากฏว่า มียาหลายตัวเมื่อเข้าสู่กระแสเลือดจะจับตัวกับโปรตีนในเลือด
และเนื้อเยื่อ ซึ่งสามารถผันกลับ (reversible) และมีเพียงแต่ยาที่เป็นอิสระ...
ไม่จับตัวกับโปรตีน (unbound) เท่านั้น ที่สามารถออกฤทธิ์ทางด้านการรักษา
ส่วนยาที่จับตัวกับโปรตีนจะทำหน้าที่เป็นที่เก็บสะสมยา และปล่อยออกสู่กระแสเลือดได้
ยาหลายตัวที่อยู่ในกลุ่ม acidic drugs...
เมื่อเข้าสู่กระแสเลือด มันจะจับตัวกับโปรตีน และเข้าไปแทนที่ยาตัวอื่น
ที่จับตัวในโปรตีน (bound drug) ได้
ในคนไข้ที่ทรมานจากภาวะ hypoalbuminemia (ภาวะแอลบลูมินต่ำ)
จะพบว่า ยาซึ่งปกติจะจับตัวกับโปรตีนอาจลอยเป็นอิสระในกระแสเลือด
และอาจเป็นพิษต่อคนไข้ได้
ผลจากการศึกษาในตอนต้น ๆ ได้ให้ความสำคัญกับตัวยาที่ถูกปล่อย
จากการจับตัวกับโปรตีนเข้าสู่กระแสโลหิต..ว่ามีความสำคัญในด้านคลีนิค.
แต่ในปัจจุบัน กลับพบว่า ปฏิกิริยาระหว่างยา-ยา ที่เกี่ยวข้องกับการจับตัว
กับโปรตีน (protein binding) จะไม่ค่อยมีความสำคัญในด้านคลีนิคเท่าใดนัก
เพราะภายหลังจาก ที่ยาถูกปล่อยจากโปรตีน มันจะถูกทำลาย และ
ถูกขับออกจากร่างกายทันที
ยกตัวอย่าง...
Aspirin และ NSAIDs สามารถปลดปล่อยยา methotrexate และ warfrin
จากตำแหน่งที่มันจับตัวกับโปรตีน ให้หลุดลอยเข้าสู่กระแสโลหิต
จากปรากฏการณ์ดังกล่าว ถูกเชื่อว่ามีบทยาทสำคัญต่อการทำให้เกิดมี่
ปฏิกิริยาเกิดขึ้น แต่มาในปัจจุบัน เราไม่ถือว่ามีความสำคัญอีกต่อไป
สารต่อต้านการจับตัวของเม็ดเลือด oral anticoagulants จะออกฤทธิ์
ยับยั้งการสังเคราะห์ vitamine K- dependent clotting factors ในตับ
ยาใดที่สามารถทำให้ระดับของทั้ง vitamin K และ anticoagulants ลงได้
สามารถกระทบกับการควบการจับตัวของเม็ดเลือด (anticoagulant
control) ได้ โดยปฏิกิริยาเหล่านี้สามารถเกิดขึ้นในทางเดินของกระเพาะ
และลำไส้ (GIT) หรือเกิดในกระแสเลือดได้:
ในระบบกระเพาะลไส้ (GIT)...
ถ้าคนไข้ได้รับ warfarin และ cholestyramine พร้อม ๆ กัน จะพบว่า การดูดซึม
ของ warfarin บกพร่องได้
หรือถ้าให้สาร acidic drugs เช่น Salicylates, chloralhydrates, diazoxide,
sulphonamides, Nalidixic acid หรือ mefenamic acid ร่วมกับยา warfarin
จะปรากฏว่า ยาเหล่านี้จะไปปลดปล่อยยา warfarin ให้หลุดออกมาจากโปรตีน
ให้หลุดเข้าสู่กระแสโลหิต เป็น free warfarin ในปริมาณมากกว่าปกติ
ยาต่อไปนี้จะทำปฏิกิริยากับ warfarin:
o Antibacterials: Chloramphenicol, co-trimoxazole, macrolides, metronidazole,
some quinolones, sulphonamides, some cephalosporins, and tetracyclins
โดยยาเหล่านี้จะมีส่วนเกี่ยวข้องกับการทำให้ระพับ INR เพิ่มสูงขึ้น
o Antifungals: Fluconazole, itraconazole, ketoconazole, and miconazole
โดยยาทุกตัวจะเพิ่มการการาต่อต้านการจับตัวของเม็ดเลือด (anticoagulation)
ในคนที่ได้รับยา warfarin
o Anti-arrhythmics: Amiodarone and propafenone จะเพิ่มผลของยา warfarin
o ยาอื่น ๆ ที่ทำปฏิกิริยากับ warfarin ได้แก่:Selective serotonin re-uptake inhibitors,
tamoxifen, fibrates, HMG-CoA reductase inhibitors, thyroid replacement therapy,
H2 blockers and proton pump inhibitors, sulphinpyrazone, disulfiram, alcohol,
NSAIDs, antiplatelet agents, Co- proxamol, barbiturates, rifampicin, oral contraceptives,
aminoglutethimide, cholestyramine, carbamazepine, phenytoin, Vitamin K
and anti thyroid agents.
เราเห็นว่า ยา warfarin สามารถทำปฏิกิริยาต่างๆ มากมาย และ กลไกของ
การทำปฏิกิริยาระหว่างยามีได้แตกต่างกันได้อย่างมาก ดังนั้น เมื่อมีการใช้ยา warfarin
ร่วมกับยาเหล่านี้จำเป็นจะต้องมีการตรวจสอบอย่างใกล้ชิด
ยาบางตัวอาจมีการเปลี่ยนแปลงที่กระเพาะอาหาร และในบางราย
อาจมีการทำให้มีการปลดปล่อยจากที่ตำแหน่งยึดเกาะกับโปรตีน
PREVIOUS : P. 4 : Pharmacokinetic Interactions- Absorption interactions.
NEXT SECTION : P. 6: Pharmacokinetic Interactions- Metabolism interactions.
www.pharmainfo.net
วันอังคารที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2557
ปฏิกิริยาระหว่างยาในคนเป็นเบาหวาน P. 4 : Pharmacokinetic Interactions- Absorption interactions.
Jan. 20, 2014
การดูดซึมของยา (drug absorption) หมายถึงการเคลื่อนไหวของยา
จากตำแหน่งที่ให้ยา เพื่อให้เข้าสู่กระแสโลหิต
ปฏิกิริยาที่เกิดจากการดูดซึม (Absorption interactions) คือการเปลี่ยน
แปลงที่เกิดขึ้นกับผลของยา โดยมีสาเหตุมาจากอาหาร, เครื่องดื่ม
หรือยาต่าง ๆ ที่ให้คนไข้ร่วมกัน
ตามหลักเป็นจริง...
พวกเราคิดว่า การให้ยาด้วยการกินยา (oral administration)
และการดูดซึมของยาผ่านระบบกระเพาะ และลำไส้...แต่เราหมายถึงการ
ให้ยาทุกรูปแบบ เช่น ทางฉีด (injection), ทางพ่นยาเข้าทางปาก
และจมูก(inhalation), ทางประคบบนผิวหนัง (topical),
อมใต้ลิ้น (sublingual), และอื่น ๆ
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นระหว่างยา และอาหาร (drug-food interactions)
สามารถกระทบกับปริมาณทั้งหมดที่กิดจากการดูดซึมเข้าสู่กระแสโลหิต
(bioavailability) แต่ส่วนมากมักจะเป็นการดูดซึมเขาสู่ร่างกายอย่างช้า ๆ
(slow absorption)
ยกตัวอย่าง...
ผลจากการให้ยาลดน้ำตาล- glipizide อาจดูดซึมได้ช้าลง เมื่อให้ร่วม
กับอาหาร ซึ่งตรงกันข้ามกับการให้ยาก่อนอาหาร 30 – 60 นาที
การเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนไหวของกระเพาะ และลำไส้ หรือการ
เปลี่ยนแปลงในระดับ pH อาจกระทบกับการดูดซึมของยาได้
นอกเหนือจากนั้น ยังพบอีกว่า ส่วนประกอบของอาหารอาจทำปฏิกิริยา
ของยา ยกตัวอย่างให้ห็นภาพ... การรับทาน vitmin K ที่ได้จากผัก
(leaf vegetables) สามารถทำปฏิกิริยากับยา warfarin
เช่นเดียวกัน...
มียาหลายขนาน เมื่อให้ร่วมกันจะทำให้การดูดซึมเข้าสู่ร่างกายได้น้อย
ยกตัวอย่าง...
ยาที่ใช้รักษาโรคไทรอยด์ (levothyroxine) หากใช้ร่วมกับ ferrous sulfate
หรือยาลดกรด (antacids) สามารถลดการดูดซึมยา levothroxine ลงได้
ดังนั้น จึงไม่ควรให้ยาพร้อมกัน แต่ควรให้ยา ferrous sulfate , Antacids
โดยให้ประมาณ 1 ชมก่อนให้ยา หรือ 2 ชม.หลังการให้ยา levothyroxine
ที่ควรระวัง !
อย่ากินยาลดกรด (antacids) ร่วมกับยาตัวอื่น ๆ เพราะการทำเช่นนั้น
สามารถลดการดูดซึมของยาได้หลายตัว
Previous Section: P. 3 : Pharmacodynamic Interactions
Next Section: P. 5: Pharmacokinetic Interactions- Distribution interactions
การดูดซึมของยา (drug absorption) หมายถึงการเคลื่อนไหวของยา
จากตำแหน่งที่ให้ยา เพื่อให้เข้าสู่กระแสโลหิต
ปฏิกิริยาที่เกิดจากการดูดซึม (Absorption interactions) คือการเปลี่ยน
แปลงที่เกิดขึ้นกับผลของยา โดยมีสาเหตุมาจากอาหาร, เครื่องดื่ม
หรือยาต่าง ๆ ที่ให้คนไข้ร่วมกัน
ตามหลักเป็นจริง...
พวกเราคิดว่า การให้ยาด้วยการกินยา (oral administration)
และการดูดซึมของยาผ่านระบบกระเพาะ และลำไส้...แต่เราหมายถึงการ
ให้ยาทุกรูปแบบ เช่น ทางฉีด (injection), ทางพ่นยาเข้าทางปาก
และจมูก(inhalation), ทางประคบบนผิวหนัง (topical),
อมใต้ลิ้น (sublingual), และอื่น ๆ
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นระหว่างยา และอาหาร (drug-food interactions)
สามารถกระทบกับปริมาณทั้งหมดที่กิดจากการดูดซึมเข้าสู่กระแสโลหิต
(bioavailability) แต่ส่วนมากมักจะเป็นการดูดซึมเขาสู่ร่างกายอย่างช้า ๆ
(slow absorption)
ยกตัวอย่าง...
ผลจากการให้ยาลดน้ำตาล- glipizide อาจดูดซึมได้ช้าลง เมื่อให้ร่วม
กับอาหาร ซึ่งตรงกันข้ามกับการให้ยาก่อนอาหาร 30 – 60 นาที
การเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนไหวของกระเพาะ และลำไส้ หรือการ
เปลี่ยนแปลงในระดับ pH อาจกระทบกับการดูดซึมของยาได้
นอกเหนือจากนั้น ยังพบอีกว่า ส่วนประกอบของอาหารอาจทำปฏิกิริยา
ของยา ยกตัวอย่างให้ห็นภาพ... การรับทาน vitmin K ที่ได้จากผัก
(leaf vegetables) สามารถทำปฏิกิริยากับยา warfarin
เช่นเดียวกัน...
มียาหลายขนาน เมื่อให้ร่วมกันจะทำให้การดูดซึมเข้าสู่ร่างกายได้น้อย
ยกตัวอย่าง...
ยาที่ใช้รักษาโรคไทรอยด์ (levothyroxine) หากใช้ร่วมกับ ferrous sulfate
หรือยาลดกรด (antacids) สามารถลดการดูดซึมยา levothroxine ลงได้
ดังนั้น จึงไม่ควรให้ยาพร้อมกัน แต่ควรให้ยา ferrous sulfate , Antacids
โดยให้ประมาณ 1 ชมก่อนให้ยา หรือ 2 ชม.หลังการให้ยา levothyroxine
ที่ควรระวัง !
อย่ากินยาลดกรด (antacids) ร่วมกับยาตัวอื่น ๆ เพราะการทำเช่นนั้น
สามารถลดการดูดซึมของยาได้หลายตัว
Previous Section: P. 3 : Pharmacodynamic Interactions
Next Section: P. 5: Pharmacokinetic Interactions- Distribution interactions
ปฏิกิริยาระหว่างยาในคนเป็นเบาหวาน P. 3 : Pharmacodynamic Interactions
Jan. 20, 2014
ปฏิกิริยาระหว่างยา ที่เกิดจากเภสัชพลศาสตร์ (pharmacodynamics)
เมือเกิดขึ้นแล้ว สามารถก่อให้เกิดประโยชน์ และเป็นอันตรายต่อคนไข้
ตัวอย่างผลประโยชน์ที่เกิดขึ้น ได้แก่ ผลรวมอันเกิดจากการใช้ลดความ
สองกลุ่ม- ACE inhibitor กับ calcium channel blocker (CCB) และ
การใช้ยาขับปัสสาวะ (diuretics) ร่วมกันกบ ACE inhibitor
ซึ่งทั้งสองกรณี จะทำให้สามารถลดระดับความดันโลหิตได้ดีกว่า การใช้
ยาเพียงตัวเดียว
ในด้านตรงข้าม เมื่อมีการใช้ยา acetyl-cholinesterase inhibitor สำหรับ
รักษาโรค myasthenia gravis และใช้ยา amitriptline สำหรับรักษาโรค
รักษาโรค Alzheimer’s ...
ยาที่เป็น acetyl-cholineserase inhibitor จะเพิมระดับ acetylcholine
ในกระแสเลือด ส่วนยา amitriptyline จะมีผล antagonistic anti-
cholinergic effect
ปฏิกิริยาระหว่างยา ที่เกิดจากเภสัชพลศาสตร์ (pharmacodynamics)
เมือเกิดขึ้นแล้ว สามารถก่อให้เกิดประโยชน์ และเป็นอันตรายต่อคนไข้
ตัวอย่างผลประโยชน์ที่เกิดขึ้น ได้แก่ ผลรวมอันเกิดจากการใช้ลดความ
สองกลุ่ม- ACE inhibitor กับ calcium channel blocker (CCB) และ
การใช้ยาขับปัสสาวะ (diuretics) ร่วมกันกบ ACE inhibitor
ซึ่งทั้งสองกรณี จะทำให้สามารถลดระดับความดันโลหิตได้ดีกว่า การใช้
ยาเพียงตัวเดียว
ในด้านตรงข้าม เมื่อมีการใช้ยา acetyl-cholinesterase inhibitor สำหรับ
รักษาโรค myasthenia gravis และใช้ยา amitriptline สำหรับรักษาโรค
รักษาโรค Alzheimer’s ...
ยาที่เป็น acetyl-cholineserase inhibitor จะเพิมระดับ acetylcholine
ในกระแสเลือด ส่วนยา amitriptyline จะมีผล antagonistic anti-
cholinergic effect
Previous Section: P. 2: DRUG-DRUG
INTERACTIONS
Next Section: P4. Pharmacokinetic Interactions-
Absorption interactions.
ปฏิกิริยาระหว่างยาในคนเป็นเบาหวาน P. 2: DRUG-DRUG INTERACTIONS
Jan. 20, 2014
เมื่อมีการกล่าวถึงปฏิกิริยาระหว่างยาเมื่อใด...
เรามักจะหมายถึง “เภสัชจลนศาสตร์” (pharmocodynamic)
หรือไม่ก็เป็น “เภสันพลศาสตร์” (pharmocokinetics) กันแทบทั้งนั้น
ปฏิกิริยาที่เกิดทางเภสัชพลศาสตร์ (pharmocodynamic drug reaction)
จะสัมพันธ์กับผลของยา ซึ่งกระทบกับร่างกายของเขา
ยกตัวอย่างให้เห็น เช่น การดื่มแอลกอฮอล์ ร่วมกับการกินยา จะเป็นเหตุ
ให้เกิดอาการง่วงอยากนอน (sedation) ขึ้น
ส่วนปฏิกิริยาทีเกิดจากเภสัชจลศาสตร์ จะสัมพันธ์กับร่างกายที่กระทบกับยา
ที่ใช้ ยกตัวอย่างให้เห็นภาพชัดขึ้น..
.
การที่ปรากฏในกระแสเลือดในปริมาณความเข็มข้นสูง
เป็นเพราะไตมีสภาพที่เสื่อมโทรมไม่สามารถทำหน้าที่ขับเอายาออกได้
ตามปกติ (renal insufficiency)
ปฏิกิริยาที่เกิดจากเภสัชจลศาสตร์ (pharmacokinetics) สามารถเกิดจาก
การเปลี่ยนแปลงในการดูดซึม (absorption), การกระจายตัว (distribution),
การเปลี่ยนแปลงทางปฏิกิริยาทางเคมี (metabolism) หรือการขับถ่ายออก
จากร่างกาย (elimination of drug)
Previous Section: P. 1 :Drug ineraction commonly used in Diabetes
Next Section: P. 3: Pharmacodynamic Interactions
เมื่อมีการกล่าวถึงปฏิกิริยาระหว่างยาเมื่อใด...
เรามักจะหมายถึง “เภสัชจลนศาสตร์” (pharmocodynamic)
หรือไม่ก็เป็น “เภสันพลศาสตร์” (pharmocokinetics) กันแทบทั้งนั้น
ปฏิกิริยาที่เกิดทางเภสัชพลศาสตร์ (pharmocodynamic drug reaction)
จะสัมพันธ์กับผลของยา ซึ่งกระทบกับร่างกายของเขา
ยกตัวอย่างให้เห็น เช่น การดื่มแอลกอฮอล์ ร่วมกับการกินยา จะเป็นเหตุ
ให้เกิดอาการง่วงอยากนอน (sedation) ขึ้น
ส่วนปฏิกิริยาทีเกิดจากเภสัชจลศาสตร์ จะสัมพันธ์กับร่างกายที่กระทบกับยา
ที่ใช้ ยกตัวอย่างให้เห็นภาพชัดขึ้น..
.
การที่ปรากฏในกระแสเลือดในปริมาณความเข็มข้นสูง
เป็นเพราะไตมีสภาพที่เสื่อมโทรมไม่สามารถทำหน้าที่ขับเอายาออกได้
ตามปกติ (renal insufficiency)
การเปลี่ยนแปลงในการดูดซึม (absorption), การกระจายตัว (distribution),
การเปลี่ยนแปลงทางปฏิกิริยาทางเคมี (metabolism) หรือการขับถ่ายออก
จากร่างกาย (elimination of drug)
Previous Section: P. 1 :Drug ineraction commonly used in Diabetes
Next Section: P. 3: Pharmacodynamic Interactions
ปฏิกิริยาระหว่างยาในคนเป็นเบาหวาน P. 1 : Drug Interaction Commonly used in Diabetes
Jan. 19,2014
ในคนเป็นโรคเบาหวาน...
ปรากฏว่า คนที่เป็นโรคดังกล่าว ส่วนใหญ่จะต้องกินยามากกว่ายาลด
ระดับน้ำตาล เพราะเขายังมีโรคอีกหลายอย่างที่จำเป็นต้องได้รับการรักษา
ด้วย เป็นต้นว่า ความดันโลหิตสูง, ระดับไขมันในเลือดสูง, รักษาโรคเลือด,และอื่น ๆ
ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับคนไข้เบาหวานจะต้องเข้าใจเกี่ยวกับยา
ที่เขาจะต้องใช้ โดยการใช้ให้ถูกต้อง
แน่นอน !
มำคนไข้จำนวนไม่น้อยมีความวิตกกังวล เมื่อเริ่มต้นรับทานยาหลายขนาน
เป็นต้นว่า มีการสั่งจ่ายยาผิด, ต้องเสียสตางค์ค่ายา, รวมถึงอาการแพ้ยา
ที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ยาหลายขนานร่วมกัน
อาการแพ้ยา หรือ Adverse drug reaction หมายถึงการเกิดปฏิกิริยาของ
ยาที่เกิดจากการใช้ยาเพียงหนึงขนาน หรือมากว่า ซึ่งก่อให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงในประสิทธิภาพของยา หรือก่อให้เกิดพิษจากการใช้ยาร่วมกัน
ปฏิกิริยาที่เกิดจากการใช้ยา สามารถเกิดจากปัจจัยหลายอย่าง เป็นต้นว่า
ที่แพทย์สั่ง หรือยาที่ซื้อหาหาได้เอง, สมุนไพร หรือไวตามิน รวมไปถึง
อาหาร, โรค, หรือความผิดปกติทางพันธุกรรม
ที่จริงแล้ว...
เราไม่ทราบอุบัติการณ์ของการเกิดปฏิกิริยาของหรอก เพราะส่วนใหญ่เมือ
เกิดขึ้นแล้ว ไม่มีการบรรทึกไว้เป็นหลักฐานให้ศึกษาได้หมดทุกราย ?
อย่างไรก็ตาม การลดความเสี่ยงจากการเกิดปฏิกิริยาระหว่างยา...
เราควรตั้งเป็นเป้าหมายสำหรับการให้ยาว่า จะทำอย่างไรจึงจะไม่ให้เกิด
ปฏิกิริยาระหว่างยาให้ได้ หากเกิดขึ้นเมื่อใด ย่อมก่อให้เกิดพยาธิสภาพ
และเป็นอันตรายถึงชีวิตได้
แพทย์ หรือบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการให้การรักษา ควรต้องรับผิดชอบ
เกี่ยวกับการสั่งยาที่ปลอดภัยให้แก่คนไข้ และควรพูดอธิบายให้คนไข้ได้ทราบ
ถึงผลข้างเคียง รวมถึงปฏิกิริยาที่จะเกิดจากการกินยาหลายขนาน
เมื่อท่านเป็นโรคเบาหวาน ซึ่งจำเป็นต้องกินยาหลายขนานรวมกัน...
มีประเด็นหลายอย่างที่ท่านควรทำความเข้าใจให้ดี:
NEXT SECTION >> P.2 :DRUG_DRUG INTERACTION
ในคนเป็นโรคเบาหวาน...
ปรากฏว่า คนที่เป็นโรคดังกล่าว ส่วนใหญ่จะต้องกินยามากกว่ายาลด
ระดับน้ำตาล เพราะเขายังมีโรคอีกหลายอย่างที่จำเป็นต้องได้รับการรักษา
ด้วย เป็นต้นว่า ความดันโลหิตสูง, ระดับไขมันในเลือดสูง, รักษาโรคเลือด,และอื่น ๆ
ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับคนไข้เบาหวานจะต้องเข้าใจเกี่ยวกับยา
ที่เขาจะต้องใช้ โดยการใช้ให้ถูกต้อง
แน่นอน !
มำคนไข้จำนวนไม่น้อยมีความวิตกกังวล เมื่อเริ่มต้นรับทานยาหลายขนาน
เป็นต้นว่า มีการสั่งจ่ายยาผิด, ต้องเสียสตางค์ค่ายา, รวมถึงอาการแพ้ยา
ที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ยาหลายขนานร่วมกัน
อาการแพ้ยา หรือ Adverse drug reaction หมายถึงการเกิดปฏิกิริยาของ
ยาที่เกิดจากการใช้ยาเพียงหนึงขนาน หรือมากว่า ซึ่งก่อให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงในประสิทธิภาพของยา หรือก่อให้เกิดพิษจากการใช้ยาร่วมกัน
ปฏิกิริยาที่เกิดจากการใช้ยา สามารถเกิดจากปัจจัยหลายอย่าง เป็นต้นว่า
ที่แพทย์สั่ง หรือยาที่ซื้อหาหาได้เอง, สมุนไพร หรือไวตามิน รวมไปถึง
อาหาร, โรค, หรือความผิดปกติทางพันธุกรรม
ที่จริงแล้ว...
เราไม่ทราบอุบัติการณ์ของการเกิดปฏิกิริยาของหรอก เพราะส่วนใหญ่เมือ
เกิดขึ้นแล้ว ไม่มีการบรรทึกไว้เป็นหลักฐานให้ศึกษาได้หมดทุกราย ?
อย่างไรก็ตาม การลดความเสี่ยงจากการเกิดปฏิกิริยาระหว่างยา...
เราควรตั้งเป็นเป้าหมายสำหรับการให้ยาว่า จะทำอย่างไรจึงจะไม่ให้เกิด
ปฏิกิริยาระหว่างยาให้ได้ หากเกิดขึ้นเมื่อใด ย่อมก่อให้เกิดพยาธิสภาพ
และเป็นอันตรายถึงชีวิตได้
แพทย์ หรือบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการให้การรักษา ควรต้องรับผิดชอบ
เกี่ยวกับการสั่งยาที่ปลอดภัยให้แก่คนไข้ และควรพูดอธิบายให้คนไข้ได้ทราบ
ถึงผลข้างเคียง รวมถึงปฏิกิริยาที่จะเกิดจากการกินยาหลายขนาน
เมื่อท่านเป็นโรคเบาหวาน ซึ่งจำเป็นต้องกินยาหลายขนานรวมกัน...
มีประเด็นหลายอย่างที่ท่านควรทำความเข้าใจให้ดี:
NEXT SECTION >> P.2 :DRUG_DRUG INTERACTION
เมื่อท่านต้องกินยาสองขนานขึ้น... P.7 : Pharmacokinetic Drug Interactions: Altered Renal Elimination
Jan. 17, 2014
Altered Renal Elimination.
มียาบางตัวที่คนเรารับทานเพื่อรักษาโรค จะถูกขับออกจากร่างกาย
ทางไต (renal tubules) ยกตัวอย่าง เช่น digoxin เป็นยาที่ถูกกำจัด
ออกจากร่างกายทางไตเป็นหลัก
มียาบางขนานสามารถยับยั้งไม่ให้ร่างกายขับ digoxin ออกทางไตได้
เป็นต้นว่า amiodarone, clarithromycin, itraconazole,
Propafernone, และ quinidine ดังนั้น การใช้กลุ่มนี้ร่วมกับ digoxin
จึงไปขั้ดขวางกระบวนการขับถ่ายยา digoxin โดยตรง
เป็นเหตุให้เกิดพิษจากการใช้ยา digoxin
Altered Renal Elimination.
มียาบางตัวที่คนเรารับทานเพื่อรักษาโรค จะถูกขับออกจากร่างกาย
ทางไต (renal tubules) ยกตัวอย่าง เช่น digoxin เป็นยาที่ถูกกำจัด
ออกจากร่างกายทางไตเป็นหลัก
มียาบางขนานสามารถยับยั้งไม่ให้ร่างกายขับ digoxin ออกทางไตได้
เป็นต้นว่า amiodarone, clarithromycin, itraconazole,
Propafernone, และ quinidine ดังนั้น การใช้กลุ่มนี้ร่วมกับ digoxin
จึงไปขั้ดขวางกระบวนการขับถ่ายยา digoxin โดยตรง
เป็นเหตุให้เกิดพิษจากการใช้ยา digoxin
BACK: P6 . Enzyme
Induction Resulting in Reduced Drug Effects
NEXT: P.8 : Pharmacodynamic Drug Interactions: Additive
Pharmacodynamic Effects.
เมื่อท่านต้องกินยาสองขนานขึ้น... P6 . Enzyme Induction Resulting in Reduced Drug Effect
Jan. 17, 2017
มียาบางอย่าง ถูกเรียกว่า “ enzyme inducers” ซึ่งสามารถเพิ่มฤทธิ์
ของของเอ็นไซม์ที่ทำหน้าที่เปลี่ยนแปลงทางปฏิกิริยาทางเคมีของยา
ผลที่เกิดขึ้น คือทำให้ประสิทธิภาพของยาบางตัวลดลงไป
ยกตัวอย่าง เช่น ยาที่ทำหน้าที่เป็น enzyme inducers ได้แก่:
aminoglutethimide, barbiturates, carbamazepine, glutethimide,
griseofulvin, phenytoin, primidone, rifabutin, rifampin,
และ troglitazone.
มียาบางตัว อาจทำหน้าที่เป็นได้ทั้ง enzyme inhibitor หรือ inducers
โดยขึ้นกับสถานการณ์:
CYP3A4 inducers:
Carbamezepine
Dexamethasone
Ethosuximide
Glucocorticoids
Griseofulvin
Phenytoin
Primidone
Progesterone
Rifabutin
Rifampin
Nafcillin
Nelfinavir
Nevirapine
Oxcarbazepine
Phenobarbital
Phenylbutazone
Rofecoxib (mild)
St John’s wort
Sulfadimidine
Sulfinpyrazone
Troglitazone
ยาหลายตัวที่ถูกเปลี่ยนแปลงโดยเอ็นไซม์ CYP3A4 หรือ CYP2C9
จะไวต่อเอ็นที่ทำหน้าที่เป็น enzyme induction
CYP2C9 inducers:
rifambicin (bacteriocidal)
secobarbital (barbiturate)
BACK: (P5) : Enzyme Inhibitors Resulting in Reduced Drug Effect.
NEXT: (P.7) : Pharmacokinetic Drug Interactions : Altered
Renal Elimination
เมื่อท่านต้องกินยาสองขนานขึ้น... P5. : Enzyme Inhibitors Resulting in Reduced Drug Effect.
Jan. 17, 2014
มียาจำหนวนหนึ่งซึ่งอยู่ในสภาพไม่สามารถออกฤทธิ์ได้ ถูกเรียกว่า
เป็น prodrug จำเป็นต้องอาศัยเอ็นไวฒ์ (enzymes) ภายในร่างกาย
ทำหน้าที่กระตุ้น (activate) เสียก่อนจึงจะออกฤทธ์ได้ด้านการรักษา
การยับยั้งการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของยาที่เป็น prodrugs เหล่านี้ อาจลด
ปริมาณของตัวยาที่ออกฤทธิ์ และลดผล หรือทำลายผลของการรักษาไป
CYP2D6 inducers:
Dexamethasone
Rifampin
ยกตัวอย่าง...
ยา codeine ซึ่งป็น prodrugs ของ morphine นั้น จำเป็นต้องอาศัย
เอ็นไซม์ CYP 2D6 ทำหน้าที่เปลี่ยน codeine ให้เป็น morphine ก่อน
จึงจะมีฤทธิ์ในด้านลดอาการปวด หรือก่อให้เกิดพิษขึ้นได้
ดังนั้น การให้สารที่เป็นตัวยับยั้งเอ็นไซม์ CYP2D6 สามารถลดผล หรือ
ฤทธิ์อ้นพึงเกิดจากการใช้ codeine ลงได้
CYP2D6 inhibitors:
Amiodarone
Celecoxib
Chloroquine
Chlorpromazine
Cimetidine
Citalopram
Clomipramine
Codeine
Deiavirdine
Desipramine
Dextroprpoxyphene
Diltiazem
Doxorubicin
Entacapone (high dose)
Fluoxetine
Fluphenazine
Fluvaxamine
Haloperidol
Labetalol
Lobeline
Lomustine
Methadone
Mibefradil
Moclobemide
Nortuloxeline
Paroxetine
Perphenazine
Propafenone
Quinacrine
Quinidine
Ranitadine (ranitidine, Zantac)
Risperidone (weak)
Ritonavir
Serindole
Sertraline (weak)
Thioridazine
Valproic acid
Venlafaxine (weak)
Vinblastine
Vincristine
Vinorelbine
Yohimbine
BACK: P4 : Enzyme Inhibition Increasing Risk of Toxicity.
NEXT: P6 . Enzyme Induction Resulting in Reduced Drug Effect
มียาจำหนวนหนึ่งซึ่งอยู่ในสภาพไม่สามารถออกฤทธิ์ได้ ถูกเรียกว่า
เป็น prodrug จำเป็นต้องอาศัยเอ็นไวฒ์ (enzymes) ภายในร่างกาย
ทำหน้าที่กระตุ้น (activate) เสียก่อนจึงจะออกฤทธ์ได้ด้านการรักษา
การยับยั้งการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของยาที่เป็น prodrugs เหล่านี้ อาจลด
ปริมาณของตัวยาที่ออกฤทธิ์ และลดผล หรือทำลายผลของการรักษาไป
CYP2D6 inducers:
Dexamethasone
Rifampin
ยกตัวอย่าง...
ยา codeine ซึ่งป็น prodrugs ของ morphine นั้น จำเป็นต้องอาศัย
เอ็นไซม์ CYP 2D6 ทำหน้าที่เปลี่ยน codeine ให้เป็น morphine ก่อน
จึงจะมีฤทธิ์ในด้านลดอาการปวด หรือก่อให้เกิดพิษขึ้นได้
ดังนั้น การให้สารที่เป็นตัวยับยั้งเอ็นไซม์ CYP2D6 สามารถลดผล หรือ
ฤทธิ์อ้นพึงเกิดจากการใช้ codeine ลงได้
CYP2D6 inhibitors:
Amiodarone
Celecoxib
Chloroquine
Chlorpromazine
Cimetidine
Citalopram
Clomipramine
Codeine
Deiavirdine
Desipramine
Dextroprpoxyphene
Diltiazem
Doxorubicin
Entacapone (high dose)
Fluoxetine
Fluphenazine
Fluvaxamine
Haloperidol
Labetalol
Lobeline
Lomustine
Methadone
Mibefradil
Moclobemide
Nortuloxeline
Paroxetine
Perphenazine
Propafenone
Quinacrine
Quinidine
Ranitadine (ranitidine, Zantac)
Risperidone (weak)
Ritonavir
Serindole
Sertraline (weak)
Thioridazine
Valproic acid
Venlafaxine (weak)
Vinblastine
Vincristine
Vinorelbine
Yohimbine
BACK: P4 : Enzyme Inhibition Increasing Risk of Toxicity.
NEXT: P6 . Enzyme Induction Resulting in Reduced Drug Effect
เมื่อท่านต้องกินยาสองขนานขึ้น... P4 : Enzyme Inhibition Increasing Risk of Toxicity.
Jan. 17, 2014
เป็นที่รู้กันว่า....
ยาส่วนใหญ่ที่คนนเราใช้รักษาโรคกัน...จะถูกทำให้หมดฤทธิ์ หรือมี
ฤทธิ์น้อยลงได้ด้วยการกระทำ (action) ของเอ็นไซม์ที่อยู่ในตับ และลำไส้
และเมื่อการเปลี่ยนแปลงทางเคมีดังกล่าวถูกยับยั้ง (inhibit)ไป ย่อมทำให้ยา
ที่เรากินเข้าไปนั้นมีฤทธิ์ (effect) มากขึ้น...และหากฤทธิ์ของยามีมากขึ้น
อาจก่อให้เกิดพิษ (toxicity) จากการใช้ยาตัวนั้นได้ นั้นคือกลไกของการ
เกิดปกิกิริยาจากยา (drug interactions) ที่พบได้บ่อยที่สุด
เนื่องจากมีเอ็นที่เกี่ยวข้องการการเปลี่ยนแปลงของยาเพียงไม่กี่ตัว
ซึ่งมีชื่อว่า cytochrome P450 isozymes
ยาสองตัวที่ต้องพึงพาเอ็นไซมืเหล่านี้ จะเกิดการแย่งกันเป็นบางครั้ง
และการแย่งกัน (competition) อาจทำให้ยาตัวหนึ่งกระทบการเปลี่ยน
แปลงทางเคมี่ของยาอีกตัวได้
ยกตัวอย่าง...
ยาที่ออกฤทธิ์เป็นตัวยับยั้ง (inhibitor) เอ็นไซม์ CYP1A2 สามารถเพิ่ม
ความเสี่ยงต่อการทำให้เกิดพิษจากการใช้ยา clozapine หรือ
Theophilline
ยาที่ออกฤทธ์เป็นตัวยับยั้งเอ็นไซม์ CYP2C9 สามารถเพิ่มความเสี่ยงต่อ
การทำให้เกิดพิษของ phenytoin, tolbutamide และ anticoagulants
เช่น warfarin
และยาที่ออกฤทธิ์เป็นตัวยับยั้ง (inhibitors) เอ็นไซม์ CYP3A4 สามารถ
เพิ่มความเสี่ยงต่อการทำให้เกิดพิษ (toxicity) จากยาหลายตัว
เช่น: carbamazepine, cisapride, cyclosporine, ergot alkaloids, lovastatin,
pimozide, protease inhibitors, rifabutin, simvastatin, tacrolimus,
and vinca alkaloids.
Credit: www.pharmacytimes.com
BACK: P. 3: Enzyme Inhibitors Resulting in Reduced Drug Effect.
NEXT: P5. Enzyme Inhibitors Resulting in Reduced Drug Effect.
เป็นที่รู้กันว่า....
ยาส่วนใหญ่ที่คนนเราใช้รักษาโรคกัน...จะถูกทำให้หมดฤทธิ์ หรือมี
ฤทธิ์น้อยลงได้ด้วยการกระทำ (action) ของเอ็นไซม์ที่อยู่ในตับ และลำไส้
และเมื่อการเปลี่ยนแปลงทางเคมีดังกล่าวถูกยับยั้ง (inhibit)ไป ย่อมทำให้ยา
ที่เรากินเข้าไปนั้นมีฤทธิ์ (effect) มากขึ้น...และหากฤทธิ์ของยามีมากขึ้น
อาจก่อให้เกิดพิษ (toxicity) จากการใช้ยาตัวนั้นได้ นั้นคือกลไกของการ
เกิดปกิกิริยาจากยา (drug interactions) ที่พบได้บ่อยที่สุด
เนื่องจากมีเอ็นที่เกี่ยวข้องการการเปลี่ยนแปลงของยาเพียงไม่กี่ตัว
ซึ่งมีชื่อว่า cytochrome P450 isozymes
ยาสองตัวที่ต้องพึงพาเอ็นไซมืเหล่านี้ จะเกิดการแย่งกันเป็นบางครั้ง
และการแย่งกัน (competition) อาจทำให้ยาตัวหนึ่งกระทบการเปลี่ยน
แปลงทางเคมี่ของยาอีกตัวได้
ยกตัวอย่าง...
ยาที่ออกฤทธิ์เป็นตัวยับยั้ง (inhibitor) เอ็นไซม์ CYP1A2 สามารถเพิ่ม
ความเสี่ยงต่อการทำให้เกิดพิษจากการใช้ยา clozapine หรือ
Theophilline
ยาที่ออกฤทธ์เป็นตัวยับยั้งเอ็นไซม์ CYP2C9 สามารถเพิ่มความเสี่ยงต่อ
การทำให้เกิดพิษของ phenytoin, tolbutamide และ anticoagulants
เช่น warfarin
และยาที่ออกฤทธิ์เป็นตัวยับยั้ง (inhibitors) เอ็นไซม์ CYP3A4 สามารถ
เพิ่มความเสี่ยงต่อการทำให้เกิดพิษ (toxicity) จากยาหลายตัว
เช่น: carbamazepine, cisapride, cyclosporine, ergot alkaloids, lovastatin,
pimozide, protease inhibitors, rifabutin, simvastatin, tacrolimus,
and vinca alkaloids.
Credit: www.pharmacytimes.com
BACK: P. 3: Enzyme Inhibitors Resulting in Reduced Drug Effect.
NEXT: P5. Enzyme Inhibitors Resulting in Reduced Drug Effect.
เมื่อท่านต้องกินยาสองขนานขึ้น... P. 3: Enzyme Inhibitors Resulting in Reduced Drug Effect.
Jan. 2014
เอ็นไซม์ที่ทำหน้าที่ยับยั้ง (inhibitors) นอกจากจะทำให้ยาที่ใช้เป็น
พิษแล้ว ยังมีเอ็นไซม์บางตัวสามารถทำให้ยาที่คนกินเข้าไปแล้วมีฤทธิ์
น้อยลงได้ โดยยาเหล่านั้นเป็นยาที่เรียกว่า “products” ซึ่งจำเป็นต้อง
พึงพาเอ็นไซม์ภายในร่างกาย ทำหน้าที่กระตุ้นให้ยามีฤทธิ์เสียก่อน
การยับยั้งไม่ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของยาที่เรียกว่า products
อาจทำให้ปริมาณของยาที่สามารถออกฤทธิ์ได้ลดลง ซึ่งยังผลให้ผล
ของการรักษาลดลง หรือถูกทำลายไป ยกตัวอย่าง...
ผลของยาแก้ปวด (analgesic และ toxic effects) ของสาร codeine
เป็นผลจากฤทธิ์ของเอ็นไซม์ CYP2D6 ให้เปลี่ยนเป็น morphine
ดังนั้นการใช้สารที่เป็น CYP2D6 inhibitors สามารถทำให้ผลการรักษา
ของ codeine เสียไป
CYP2D6 inhibitors อาจมีผลลดความเจ็บปวด (analgesic) ของ
Hydrocodone
BACK: P.2: Pharmacokinetic Drug Interactions:
Inhibition of Absorption
NEXT: P4 : Enzyme Inhibition Increasing Risk of Toxicity.
เอ็นไซม์ที่ทำหน้าที่ยับยั้ง (inhibitors) นอกจากจะทำให้ยาที่ใช้เป็น
พิษแล้ว ยังมีเอ็นไซม์บางตัวสามารถทำให้ยาที่คนกินเข้าไปแล้วมีฤทธิ์
น้อยลงได้ โดยยาเหล่านั้นเป็นยาที่เรียกว่า “products” ซึ่งจำเป็นต้อง
พึงพาเอ็นไซม์ภายในร่างกาย ทำหน้าที่กระตุ้นให้ยามีฤทธิ์เสียก่อน
การยับยั้งไม่ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของยาที่เรียกว่า products
อาจทำให้ปริมาณของยาที่สามารถออกฤทธิ์ได้ลดลง ซึ่งยังผลให้ผล
ของการรักษาลดลง หรือถูกทำลายไป ยกตัวอย่าง...
ผลของยาแก้ปวด (analgesic และ toxic effects) ของสาร codeine
เป็นผลจากฤทธิ์ของเอ็นไซม์ CYP2D6 ให้เปลี่ยนเป็น morphine
ดังนั้นการใช้สารที่เป็น CYP2D6 inhibitors สามารถทำให้ผลการรักษา
ของ codeine เสียไป
CYP2D6 inhibitors อาจมีผลลดความเจ็บปวด (analgesic) ของ
Hydrocodone
BACK: P.2: Pharmacokinetic Drug Interactions:
Inhibition of Absorption
NEXT: P4 : Enzyme Inhibition Increasing Risk of Toxicity.
เมื่อท่านต้องกินยาสองขนานขึ้น... P.2: Pharmacokinetic Drug Interactions: Inhibition of Absorption
Jan. 17, 2014
Inhibition of Absorption.
มียาหลายตัว ซึ่งทำหน้าที่เป็นตัว “binding agents” เช่น cholestyramine
และ colestipol ซึ่งสามารถจับตัวกับยาตัวอื่น ๆ ไม่ให้ยาที่จะออกฤทธิ์ได้ตาม
ปกติได้ เป็นผลให้ยาตัวนั้น ๆ ไม่สามารถออกฤทธิ์ด้านการรักษาได้เท่าที่
ควร (therapeutic effects) เช่น เมื่อใช้ยา Cholestyramine คู่ขนานไปกับ
การใช้ยา furosemide
การใช้ยา Fluroquinolone antibiotics (e.g. Cipro) มีแนวโน้มที่จะจับตัว
กับ Cations (โมเลกูลของสารที่มีประจุไฟฟ้าบวก)
เช่น aluminum, magnesum และ iron
การดูดซึมของยาต่อไปนี้ จะเพิ่มขึ้น หรือดูดซึมลดลง จะขึ้นตรงกับระดับต่อ
ระดับ pH ของกระเพาะอาหาร เช่น Itraconazole, ketoconazole,
glipizide, glyburide, defpodoxime, และ fefuroxime
Enzyme Inhibition Increasing Risk of Toxicity.
ยาส่วนใหญ่จะเปลี่ยนแปลงทางเคมีให้กลายเป็นสารที่ไม่มีฤทธิ์ (non active)
หรือฤทธิ์น้อยลง (less active) โดยการกระทำของเอ็นไซม์ต่างๆ ภายในลำไส้
และในตับ
เมื่อการเปลี่ยนแปลงทางเคมีภายในตับจะถูกยับยั้ง จะทำให้ฤทธิ์ที่จะเกิด
จากยาที่ใช้เพิ่มขึ้น และหากฤทธิ์ของยาเพิ่มมากขึ้น ย่อมทำให้เกิดเป็น
ยาเกิดเป็นพิษได้ (drug toxicity) นั้นคือกลไกที่ปรากฏขึ้นได้บ่อยที่สุด
ที่ทำให้เกิดปฏิกิริยาระหว่างยากับยา (drugs interactions)
เนื่องจากมี cytochrome p450 isozymes ไม่กี่ตัวที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการ
เปลี่ยนแปลงทางเคมีของยา (drug metabolism), การทำปฏิกิริยาต่อต้านซึ่งกัน
และกันอาจยังผลให้ยาตัวหนึ่งมีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
(metabolism) กับยาตัวอื่นได้
ยกตัวอย่าง...
เอ็นไซม์ที่ทำหน้าที่ยับยั้ง (inhibitors) ชื่อ CYP1A2 สามารถเพิ่มความ
เสี่ยงต่อการเกิดพิษของยา clozapine หรือ theophylline
เพราะมีสารดังกล่าวมีความเข็มข้นในกระแสเลือดสูงกว่าปกติ
Inhibitors ของ CYP 2C9 สามารถเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดพิษโดยการใช้
ยา phenytoin, tolbutamide, และ oral anticoagulants เช่น warfarin
Inhibitor CYP 3A4 สามารถเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดพิษจากยาหลาย
ตัว เช่น carbamazepine, cisapride, cyclosporine, ergot alkaloids,
lovastatin, pimozide, protease inhibitors, rifabutin, simvastatin,
tacrolimus, and vinca alkaloids.
BACK : P.1 Drug-drug Interaction
NEXT: P. 3: Enzyme Inhibitors Resulting in Reduced
Drug Effect.
Inhibition of Absorption.
มียาหลายตัว ซึ่งทำหน้าที่เป็นตัว “binding agents” เช่น cholestyramine
และ colestipol ซึ่งสามารถจับตัวกับยาตัวอื่น ๆ ไม่ให้ยาที่จะออกฤทธิ์ได้ตาม
ปกติได้ เป็นผลให้ยาตัวนั้น ๆ ไม่สามารถออกฤทธิ์ด้านการรักษาได้เท่าที่
ควร (therapeutic effects) เช่น เมื่อใช้ยา Cholestyramine คู่ขนานไปกับ
การใช้ยา furosemide
การใช้ยา Fluroquinolone antibiotics (e.g. Cipro) มีแนวโน้มที่จะจับตัว
กับ Cations (โมเลกูลของสารที่มีประจุไฟฟ้าบวก)
เช่น aluminum, magnesum และ iron
การดูดซึมของยาต่อไปนี้ จะเพิ่มขึ้น หรือดูดซึมลดลง จะขึ้นตรงกับระดับต่อ
ระดับ pH ของกระเพาะอาหาร เช่น Itraconazole, ketoconazole,
glipizide, glyburide, defpodoxime, และ fefuroxime
Enzyme Inhibition Increasing Risk of Toxicity.
ยาส่วนใหญ่จะเปลี่ยนแปลงทางเคมีให้กลายเป็นสารที่ไม่มีฤทธิ์ (non active)
หรือฤทธิ์น้อยลง (less active) โดยการกระทำของเอ็นไซม์ต่างๆ ภายในลำไส้
และในตับ
เมื่อการเปลี่ยนแปลงทางเคมีภายในตับจะถูกยับยั้ง จะทำให้ฤทธิ์ที่จะเกิด
จากยาที่ใช้เพิ่มขึ้น และหากฤทธิ์ของยาเพิ่มมากขึ้น ย่อมทำให้เกิดเป็น
ยาเกิดเป็นพิษได้ (drug toxicity) นั้นคือกลไกที่ปรากฏขึ้นได้บ่อยที่สุด
ที่ทำให้เกิดปฏิกิริยาระหว่างยากับยา (drugs interactions)
เนื่องจากมี cytochrome p450 isozymes ไม่กี่ตัวที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการ
เปลี่ยนแปลงทางเคมีของยา (drug metabolism), การทำปฏิกิริยาต่อต้านซึ่งกัน
และกันอาจยังผลให้ยาตัวหนึ่งมีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
(metabolism) กับยาตัวอื่นได้
ยกตัวอย่าง...
เอ็นไซม์ที่ทำหน้าที่ยับยั้ง (inhibitors) ชื่อ CYP1A2 สามารถเพิ่มความ
เสี่ยงต่อการเกิดพิษของยา clozapine หรือ theophylline
เพราะมีสารดังกล่าวมีความเข็มข้นในกระแสเลือดสูงกว่าปกติ
Inhibitors ของ CYP 2C9 สามารถเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดพิษโดยการใช้
ยา phenytoin, tolbutamide, และ oral anticoagulants เช่น warfarin
Inhibitor CYP 3A4 สามารถเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดพิษจากยาหลาย
ตัว เช่น carbamazepine, cisapride, cyclosporine, ergot alkaloids,
lovastatin, pimozide, protease inhibitors, rifabutin, simvastatin,
tacrolimus, and vinca alkaloids.
BACK : P.1 Drug-drug Interaction
NEXT: P. 3: Enzyme Inhibitors Resulting in Reduced
Drug Effect.
เมื่อท่านต้องกินยาสองขนานขึ้น... P.1 Drug-drug Interaction
Jan. 17, 2014
มีเหตุการณ์อย่างหนึ่งที่ทุกคนไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้...
นั้นคือ เรามีโอกาสต้องกินยาเพื่อรักษาโรคที่เราเป็นกันทุกคน ประเด็นมีว่า
ยาเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ก็จริง แต่หากใช้ไม่ถูกต้อง ย่อมก่อให้เกิดขึ้นผลเสีย
ได้เป็นธรรมดา โดยเฉพาะการกินยาสองขนานควบคู่กันเมื่อใด
โอกาสที่ยาจะทำปฏิกิริยาต่อกันย่อมมีได้สูง
ผลจากการวิจัย โดยเฉพาะการศึกษาเกี่ยวกับกลไกการทำงานของ
Cytochrome P450 enzymes พบว่า มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเกิดปฏิกิริยารระหว่างยา
ซึ่งควรได้รับการพิจารณาจากพวกเราทีต้องกินยารักษาโรคของตัวเอง
โดยให้สนใจเฉพาะยาที่เราต้องใช้ (กิน) เท่านั้นเป็นพอ...
ยาที่เราใช้ และถูกกระทบโดยการกระทำปฏิริยาของยาตัวอื่น เราเรียก
ว่า “object drug” และยาตัวที่ทำให้เกิดปฏิกริยาเรียก "precipitant Drug”
กลไกที่ทำให้เกิดปฏิกริยาระหว่างยา มีหลายกลไกพอสมควร
ส่วนใหญ่เราสามารถแบ่งเป็นสองกลุ่มใหญ่ ๆ ดังนี้:
Pharmacokinetic interactions
Pharmacodynamic interactions
Pharmacokinectic drug interactions. ยาที่รับทานเข้าไปจะกระทบ
กับการดูดซึม (absorptionX, การกระจายตัว (distribution), และกระบวน
ทางเคมีเกิดภายในร่างกาย (metabolism), และการกำจัดออกจาก
ร่างกาย (excrection)
สำหรับ pharmacodynamic drug interactions จะเกิดขึ้นเมื่อยาสอง
ขนานซึ่งมีผลส่งเสริม (additive) หรือทำหน้าที่เป็นปฏิปักษ์กัน
ไม่ว่าจะออกฤทธิ์ในรูปแบบใดย่อมสามารถก่อให้เกิดผลอันไม่พึงประ
สงค์ได้ในคนบางคนได
NEXT:>> Pharmacokinectic Drug Interaction :Inhibiton of Absorption
มีเหตุการณ์อย่างหนึ่งที่ทุกคนไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้...
นั้นคือ เรามีโอกาสต้องกินยาเพื่อรักษาโรคที่เราเป็นกันทุกคน ประเด็นมีว่า
ยาเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ก็จริง แต่หากใช้ไม่ถูกต้อง ย่อมก่อให้เกิดขึ้นผลเสีย
ได้เป็นธรรมดา โดยเฉพาะการกินยาสองขนานควบคู่กันเมื่อใด
โอกาสที่ยาจะทำปฏิกิริยาต่อกันย่อมมีได้สูง
ผลจากการวิจัย โดยเฉพาะการศึกษาเกี่ยวกับกลไกการทำงานของ
Cytochrome P450 enzymes พบว่า มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเกิดปฏิกิริยารระหว่างยา
ซึ่งควรได้รับการพิจารณาจากพวกเราทีต้องกินยารักษาโรคของตัวเอง
โดยให้สนใจเฉพาะยาที่เราต้องใช้ (กิน) เท่านั้นเป็นพอ...
ยาที่เราใช้ และถูกกระทบโดยการกระทำปฏิริยาของยาตัวอื่น เราเรียก
ว่า “object drug” และยาตัวที่ทำให้เกิดปฏิกริยาเรียก "precipitant Drug”
กลไกที่ทำให้เกิดปฏิกริยาระหว่างยา มีหลายกลไกพอสมควร
ส่วนใหญ่เราสามารถแบ่งเป็นสองกลุ่มใหญ่ ๆ ดังนี้:
Pharmacokinetic interactions
Pharmacodynamic interactions
Pharmacokinectic drug interactions. ยาที่รับทานเข้าไปจะกระทบ
กับการดูดซึม (absorptionX, การกระจายตัว (distribution), และกระบวน
ทางเคมีเกิดภายในร่างกาย (metabolism), และการกำจัดออกจาก
ร่างกาย (excrection)
สำหรับ pharmacodynamic drug interactions จะเกิดขึ้นเมื่อยาสอง
ขนานซึ่งมีผลส่งเสริม (additive) หรือทำหน้าที่เป็นปฏิปักษ์กัน
ไม่ว่าจะออกฤทธิ์ในรูปแบบใดย่อมสามารถก่อให้เกิดผลอันไม่พึงประ
สงค์ได้ในคนบางคนได
NEXT:>> Pharmacokinectic Drug Interaction :Inhibiton of Absorption
วันอาทิตย์ที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2557
เมื่อท่านต้องกินยาสองขนานขึ้น... P.8 : Pharmacodynamic Drug Interactions: Additive Pharmacodynamic Effects.
Jan. 17, 2014
Additive Pharmacodynamic Effects.
เมื่อยาตั้งแต่สองตัวขึ้นไป และมีผลทาง pharmacodynamic เหมือนกัน
ถูกคนไข้กินเข้าไป ย่อมทำให้เกิดผลรวมจากฤทธ์ของยาทั้งสองออกร่วมกัน
(additive effect) และอาจยังผลให้เกิดการตอบสนองที่มากไป
และทำให้เกิดพิษ (toxicity) ได้
ยกตัวอย่าง การใช้ยาสองชนิดที่สามารถทำให้ QTc interval ทำให้ยาว
ออก ซึ่งพบเห็นในการเต้นของหัวใจผิดปกติ- ventricular arrhythmias
และยาสองตัวที่มีผลทำให้เกิดมี potassium ในกระแสเลือดสํงขึ้น จะยัง
ผลให้มีสารโปแตสเซี่ยมในกระแสเลือดสูง (hyperkalemia) ได้
Antagonistic Pharmacodynamic Effects.
ยาสองชนิดที่มีฤทธิ์ตรงข้ามกัน (opposing pharmacodynamic effec)
อาจลดการตอบสนองต่อยาหนึ่งตัว หรือทั้งสองตัว
ยกตัวอย่าง ยากลุ่ม NSAIDs มีแนวโน้มที่จะเพิ่มความดันโลหิตให้สูง
ขึ้น อาจยับยั้งฤทธิ์การลดความดันโลหิตของยากลุ่ม ACE inhibitors ได้
อีกตัวอย่าง ได้แก่การใช้ยา benzodiazepines ร่วมกับ theophylline
จะทำให้การตอบสนองต่อยาลดลง
BACK: P.7 : Pharmacokinetic Drug Interactions: Altered Renal Elimination
http://www.hanstenandhorn.com/article-d-i.html
Additive Pharmacodynamic Effects.
เมื่อยาตั้งแต่สองตัวขึ้นไป และมีผลทาง pharmacodynamic เหมือนกัน
ถูกคนไข้กินเข้าไป ย่อมทำให้เกิดผลรวมจากฤทธ์ของยาทั้งสองออกร่วมกัน
(additive effect) และอาจยังผลให้เกิดการตอบสนองที่มากไป
และทำให้เกิดพิษ (toxicity) ได้
ยกตัวอย่าง การใช้ยาสองชนิดที่สามารถทำให้ QTc interval ทำให้ยาว
ออก ซึ่งพบเห็นในการเต้นของหัวใจผิดปกติ- ventricular arrhythmias
และยาสองตัวที่มีผลทำให้เกิดมี potassium ในกระแสเลือดสํงขึ้น จะยัง
ผลให้มีสารโปแตสเซี่ยมในกระแสเลือดสูง (hyperkalemia) ได้
Antagonistic Pharmacodynamic Effects.
ยาสองชนิดที่มีฤทธิ์ตรงข้ามกัน (opposing pharmacodynamic effec)
อาจลดการตอบสนองต่อยาหนึ่งตัว หรือทั้งสองตัว
ยกตัวอย่าง ยากลุ่ม NSAIDs มีแนวโน้มที่จะเพิ่มความดันโลหิตให้สูง
ขึ้น อาจยับยั้งฤทธิ์การลดความดันโลหิตของยากลุ่ม ACE inhibitors ได้
อีกตัวอย่าง ได้แก่การใช้ยา benzodiazepines ร่วมกับ theophylline
จะทำให้การตอบสนองต่อยาลดลง
BACK: P.7 : Pharmacokinetic Drug Interactions: Altered Renal Elimination
http://www.hanstenandhorn.com/article-d-i.html
วันเสาร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2557
มาเรียนรู้เรื่องไมเกรน P. 10: Alternative Treatment
Jan. 14,2014
ถ้าท่านไม่ต้องการกินยารักษาโรคไมเกรน...
หรือมีความต้องการจะกินยาร่วมกับวิธีการรักษาอย่างอื่น เช่นการรักษา
ด้วยแพทย์ทางเลือก (alternative treatment) ก็เป็นสิทธิของท่านที่จะ
ทำเช่นนั้นได้ โดยพบว่า มีวิธีการบางอย่างนอกเหนือจากการ
ใช้ยาแล้ว สามารถบรรเทาอาการไมเกรนลงได้ ซึ่งได้แก่:
o Rest and Relaxation:
มีการกล่าวว่า..."อยากหายจากโรคไมเกรนก็พักผ่อน และผ่อนคลาย
เสียซิ."..นั้นเป็นคำพูดที่ใครก็พูดได้ แต่การกระทำให้ได้นี้ซิมันยาก
อย่างไรก็ตาม หากท่านทำได้...”พัก และทำจิตให้ผ่อนคลาย”
สามารถลดอาการไมเกรนลงได้จริง
มีคนไข้จำนวนหนึ่ง เมื่อเกิดมีอาการปวดศีรษะไมเกรนขึ้น สามารถ
ทำให้อาการดีขึ้น โดยการอยู่ในห้องที่อากาศเย็น และมืด...
ซึ่งเป็นการหลีกเลี่ยงจากสิ่งกระตุ้นให้เกิดไมเกรนได้
o Cold compression therapy:
กระทำได้ง่ายๆ ด้วยการห่อก้อนน้ำแข็งด้วยผ้านุ่ม แล้วไว้ที่บริเวณ
ท้ายทอย หรือบริเวณหน้าผาก และการกดเบาในบริเวณหน้าผ่าก
สามารถทำให้บรรเทาอาการปวดลดลงได้
o Sleep:
การอดนอนสามารถกระตุ้นให้เกิดปวดศีรษะไมเกรนได้ และในขณะ
ดียวกันการนอนมากไปอาจทำให้เกิดไมเกรนได้เช่นกัน
โดยทั่วไป เราควรพักผ่อนด้วยการนอนหลับ 7 ชม. ต่อวัน
o Relax:
การผ่อนกคลาย และการออกกำลังกายเป็นประจำทุกวัน จะช่วยทำ
ให้เรียนรู้การปลดปล่อยความตึงเครียด และความวิตกกังวลบางอย่างได้
ซึ่งมีวิธีการหลายอย่าง เป็นต้นว่า :
การฝึกปฏิบัติธรรมสามารถทำจิตให้สงบตามแบบฉบับของพุทธศาสนิก...,
ฝีกโยคะ, ฟังเพลง หรือแม้กระทั้งการอาบน้ำร้อน...
สามารถช่วยให้ท่านปลดปล่อยความเครียด, ความวิตกกกังวล
และความตึงเครียดที่บรเวณศีรษะ และต้นคอได้
o Acupuncture:
ผลจากการวิจัยพบว่า การฝังเข็มสามารถช่วยบรรเทาอาการปวดศีรษะ
ไมเกรนได้
o Manual therapy:
การนวด อาจช่วยลดความรุนแรง การเกิดโรคไมเกรนไม่ให้เกิดขึ้นได้บ่อย
<< PREV
P.9: Pain-Relieving Medicines
http://www.healthline.com/health/migraine-facing-migraines-head-on
ถ้าท่านไม่ต้องการกินยารักษาโรคไมเกรน...
หรือมีความต้องการจะกินยาร่วมกับวิธีการรักษาอย่างอื่น เช่นการรักษา
ด้วยแพทย์ทางเลือก (alternative treatment) ก็เป็นสิทธิของท่านที่จะ
ทำเช่นนั้นได้ โดยพบว่า มีวิธีการบางอย่างนอกเหนือจากการ
ใช้ยาแล้ว สามารถบรรเทาอาการไมเกรนลงได้ ซึ่งได้แก่:
o Rest and Relaxation:
มีการกล่าวว่า..."อยากหายจากโรคไมเกรนก็พักผ่อน และผ่อนคลาย
เสียซิ."..นั้นเป็นคำพูดที่ใครก็พูดได้ แต่การกระทำให้ได้นี้ซิมันยาก
อย่างไรก็ตาม หากท่านทำได้...”พัก และทำจิตให้ผ่อนคลาย”
สามารถลดอาการไมเกรนลงได้จริง
มีคนไข้จำนวนหนึ่ง เมื่อเกิดมีอาการปวดศีรษะไมเกรนขึ้น สามารถ
ทำให้อาการดีขึ้น โดยการอยู่ในห้องที่อากาศเย็น และมืด...
ซึ่งเป็นการหลีกเลี่ยงจากสิ่งกระตุ้นให้เกิดไมเกรนได้
o Cold compression therapy:
กระทำได้ง่ายๆ ด้วยการห่อก้อนน้ำแข็งด้วยผ้านุ่ม แล้วไว้ที่บริเวณ
ท้ายทอย หรือบริเวณหน้าผาก และการกดเบาในบริเวณหน้าผ่าก
สามารถทำให้บรรเทาอาการปวดลดลงได้
o Sleep:
การอดนอนสามารถกระตุ้นให้เกิดปวดศีรษะไมเกรนได้ และในขณะ
ดียวกันการนอนมากไปอาจทำให้เกิดไมเกรนได้เช่นกัน
โดยทั่วไป เราควรพักผ่อนด้วยการนอนหลับ 7 ชม. ต่อวัน
o Relax:
การผ่อนกคลาย และการออกกำลังกายเป็นประจำทุกวัน จะช่วยทำ
ให้เรียนรู้การปลดปล่อยความตึงเครียด และความวิตกกังวลบางอย่างได้
ซึ่งมีวิธีการหลายอย่าง เป็นต้นว่า :
การฝึกปฏิบัติธรรมสามารถทำจิตให้สงบตามแบบฉบับของพุทธศาสนิก...,
ฝีกโยคะ, ฟังเพลง หรือแม้กระทั้งการอาบน้ำร้อน...
สามารถช่วยให้ท่านปลดปล่อยความเครียด, ความวิตกกกังวล
และความตึงเครียดที่บรเวณศีรษะ และต้นคอได้
o Acupuncture:
ผลจากการวิจัยพบว่า การฝังเข็มสามารถช่วยบรรเทาอาการปวดศีรษะ
ไมเกรนได้
o Manual therapy:
การนวด อาจช่วยลดความรุนแรง การเกิดโรคไมเกรนไม่ให้เกิดขึ้นได้บ่อย
<< PREV
P.9: Pain-Relieving Medicines
http://www.healthline.com/health/migraine-facing-migraines-head-on
มาเรียนรู้เรื่องไมเกรน P.9 : Pain-Relieving Medicines
Jan. 14,2014
ยาที่ถูกนำมาใช้บรรเทาอาการเจ็บปวด จะทำงานได้ดีเมื่อใช้ (กิน)
ทันทีเมื่อเริ่มมีอาการปวดหัวใจไมเกรน ทั้งนี้เพราะกว่ายาจะออกฤทธิ์ได้
ก่อนที่อาการของโรคจะมีความรุนแรง
ยาที่ใช้ได้แก่:
OTC pain relievers. ยาที่ท่านสามารถซื้อหาได้จากร้านขายยา
เช่น aspirin, acetaminophen, naproxen, ibuprofen, อาจบรรเทาอาการปวด
หัวไมเกรนได้ ยาแก้ปวดเหล่านี้ ถูกนำมาผสมกับ “คาเฟอิน” สามารถช่วย
ให้ยาแก้ปวดถูกดูดซึมได้มากขึ้น
Triptans. ยาที่ถูกแพทย์สั่งให้แก่คนไข้ที่เกิดอาการปวดศีรษะไมเกรน
คือยา triptans ซึ่งยาในกลุ่มนี้มหลายตัวด้วยกัน เช่น sumatriptan (Imitrex),
almotriptan (Axert), และ Rizatriptan (Maxalt)
ยากลุ่มนี้จะใช้ได้ผลดีกับคนที่มีอาการคลื่นไส้, มีความไวต่อแสง
และเสียงขณะที่มีอาการไมเกรน
Midrin. เป็นยาที่เกิดจากการผสมของยาสามขนาน ซึ่งได้แก่ Isometheptene,
acetaminophen, และ dichlorphenazone จะถูกใช้ในคนไข้ที่เริ่มมีอาการ
ปวดศีรษะไมเกรน โดยการออกฤทธิ์ป้องกันไม่ให้เส้นเลือดขยายตัวต่อไปอีก
Opiates. ยาที่เป็นสารเสพติด เช่น codeine จะถูกนำมาใช้รักษาอาการปวดศีรษะ
ไมเกรน และหากมีการใช้ยาตัวนี้แล้ว จะต้องระมัดระวังให้มาก
เพราะมันก่อให้เกิดการเสพติดได้
Dexamethasone. ยาชนิดนี้จะถูกนำมาใช้ร่วมกับยาชนิดอื่น ๆ
เพื่อลดอาการปวดศีรษะไมเกรน...แต่ไม่ควรใช้บ่อย เพราะอาจเกิด
ผลเสียได้ เช่น ทำให้เกิดกระดูกบาง (osteoporosis)
Ergot. มีการใช้ยารวมกันระหว่าง ergotamine และ caffeine
โดยถูกใช้ในคนไข้ปวดศีรษะไมเกรนกันบ่อยเหมือนกัน โดยการออกฤทธิ์
ด้วยการป้องกันไม่ให้เส้นเลือดขยายตัว ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิด
อาการปวดศีรษะขึ้น
Anti-nausea medicines. ถูกนำไปใช้ในรายที่มีอาการคลื่นไส้, อาเจียน,
เสียดท้อง ซึ่งเป็นผลมาจากโรคปวดศีรษะไมเกรน
ยาที่ใช้ได้แก่ prochlorperazine(Compazine) หรือ prometazine (Phenergan)
<< PREV SECTION NEXT SECTION >
P.8: Preventive Medicines P.10 : Alternative Medicine
ยาที่ถูกนำมาใช้บรรเทาอาการเจ็บปวด จะทำงานได้ดีเมื่อใช้ (กิน)
ทันทีเมื่อเริ่มมีอาการปวดหัวใจไมเกรน ทั้งนี้เพราะกว่ายาจะออกฤทธิ์ได้
ก่อนที่อาการของโรคจะมีความรุนแรง
ยาที่ใช้ได้แก่:
OTC pain relievers. ยาที่ท่านสามารถซื้อหาได้จากร้านขายยา
เช่น aspirin, acetaminophen, naproxen, ibuprofen, อาจบรรเทาอาการปวด
หัวไมเกรนได้ ยาแก้ปวดเหล่านี้ ถูกนำมาผสมกับ “คาเฟอิน” สามารถช่วย
ให้ยาแก้ปวดถูกดูดซึมได้มากขึ้น
Triptans. ยาที่ถูกแพทย์สั่งให้แก่คนไข้ที่เกิดอาการปวดศีรษะไมเกรน
คือยา triptans ซึ่งยาในกลุ่มนี้มหลายตัวด้วยกัน เช่น sumatriptan (Imitrex),
almotriptan (Axert), และ Rizatriptan (Maxalt)
ยากลุ่มนี้จะใช้ได้ผลดีกับคนที่มีอาการคลื่นไส้, มีความไวต่อแสง
และเสียงขณะที่มีอาการไมเกรน
Midrin. เป็นยาที่เกิดจากการผสมของยาสามขนาน ซึ่งได้แก่ Isometheptene,
acetaminophen, และ dichlorphenazone จะถูกใช้ในคนไข้ที่เริ่มมีอาการ
ปวดศีรษะไมเกรน โดยการออกฤทธิ์ป้องกันไม่ให้เส้นเลือดขยายตัวต่อไปอีก
Opiates. ยาที่เป็นสารเสพติด เช่น codeine จะถูกนำมาใช้รักษาอาการปวดศีรษะ
ไมเกรน และหากมีการใช้ยาตัวนี้แล้ว จะต้องระมัดระวังให้มาก
เพราะมันก่อให้เกิดการเสพติดได้
Dexamethasone. ยาชนิดนี้จะถูกนำมาใช้ร่วมกับยาชนิดอื่น ๆ
เพื่อลดอาการปวดศีรษะไมเกรน...แต่ไม่ควรใช้บ่อย เพราะอาจเกิด
ผลเสียได้ เช่น ทำให้เกิดกระดูกบาง (osteoporosis)
Ergot. มีการใช้ยารวมกันระหว่าง ergotamine และ caffeine
โดยถูกใช้ในคนไข้ปวดศีรษะไมเกรนกันบ่อยเหมือนกัน โดยการออกฤทธิ์
ด้วยการป้องกันไม่ให้เส้นเลือดขยายตัว ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิด
อาการปวดศีรษะขึ้น
Anti-nausea medicines. ถูกนำไปใช้ในรายที่มีอาการคลื่นไส้, อาเจียน,
เสียดท้อง ซึ่งเป็นผลมาจากโรคปวดศีรษะไมเกรน
ยาที่ใช้ได้แก่ prochlorperazine(Compazine) หรือ prometazine (Phenergan)
<< PREV SECTION NEXT SECTION >
P.8: Preventive Medicines P.10 : Alternative Medicine
มาเรียนรู้เรื่องไมเกรน P.8: Preventive Medicines
Jan. 14,2014
เมื่อท่านทรมานจากอาการปวดหัวไมเกรน...
แพทย์อาจให้ยาเพื่อป้องกันไม่ให้ไมเกรนเกิด ซึ่งมักจะใช้ในรายที่
เกิดมีอาการสองสามครั้งต่อเดือน เป็นการให้ยาเป็นประจำ อาจช่วย
ลดการเกิดไมเกรนไม่ให้เกิดขึ้นได้บ่อยเหมือนเดิม, ลดระยะการมี
อาการ, และความรุนแรงลง
ในการให้ยาเพื่อป้องกันโรคปวดหัวไมเกรนดังกล่าว
เขาให้วันละครั้ง หรือให้ยาเมื่อเริ่มมีไมเกรนเกิดขึ้น โดยยาดังกล่าว
อาจทำให้อาการปวดลดลงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ยาที่ใช้ได้แก่:
Antidepressants: ยาที่ถูกนำมาใช้ คือ Tricyclic antidepressants
เป็นยาที่อาจช่วยรักษาระดับของสารเคมีในสมอง และสารต่าง ๆ
เช่น serotonin ซี่งสามารถทำให้เกิดไมเกรนได้
Cardiovascular drugs: เช่น Calcium channel blockers เป็นยา ที่ถูกนำ
ไปรักษาโรคความดันโลหิต (cardiovascular disease)
และจากผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่า ยาในกลุ่มนี้ เช่น verapamil (Isoptin)
อาจป้องกันไม่ให้เกิดอาการปวดหัวไมเกรน และลดอาการเตือนได้
Beta Blockers ซึ่งเป็นยี่ใช้รักษาโรคความดันโลหิตสูง และโรค
หลอดเลือดหัวใจ (coronary artery) อาจลดใช้ป้องกันไมเกรน
และลดความรุนแรงของไมเกรนลงเมือมันเกิดขึ้น
Botox: องค์การอาหารและยา (FDA) ได้รับรองการใช้ยา Botox
หรือ onabotulinumtoxinA ให้ใช้รักษาปวดศีรษะโรคไมเกรน โดยการฉีด
ยาเข้าที่บริเวณหน้าผาก และคอ...สามารถลดความรุนแรง
และความถี่ของอาการไมเกรนในคนที่เป็นโรคปวดศีรษะเรื้อรัง
และหากการรักษาด้วยวิธีการฉีด (botox) ได้ผลดี ท่านอาจฉีดซ้ำทุก 3 เดือน
Anti-seizure medicines: ยาที่ใช้รักษาอาการชัก (anti-seizure)
สามารถลดอาการปวดศีรษะไมเกรนลงได้ ได้แก่ valproate sod.(Deparon),
gabapentin (Neurontin), และ topiramate (Topamax)
ในการใช้ยากลุ่มดังกล่าว จะมีผลข้างเคียง ได้แก่ cramps, ผมร่วง, คลื่นไส้,
อาเจียน, และวิงเวียน ดังนั้น แพทย์จะแนะนำให้ใช้ยากลุ่มนี้ก็ต่อเมื่อ
การรักษาอย่างอื่นไม่ได้ผลเท่านั้น
<< PREV NEXT >>
P. 7 : Migraine Treatment P 9 : Pain-Relieving Medicines
เมื่อท่านทรมานจากอาการปวดหัวไมเกรน...
แพทย์อาจให้ยาเพื่อป้องกันไม่ให้ไมเกรนเกิด ซึ่งมักจะใช้ในรายที่
เกิดมีอาการสองสามครั้งต่อเดือน เป็นการให้ยาเป็นประจำ อาจช่วย
ลดการเกิดไมเกรนไม่ให้เกิดขึ้นได้บ่อยเหมือนเดิม, ลดระยะการมี
อาการ, และความรุนแรงลง
ในการให้ยาเพื่อป้องกันโรคปวดหัวไมเกรนดังกล่าว
เขาให้วันละครั้ง หรือให้ยาเมื่อเริ่มมีไมเกรนเกิดขึ้น โดยยาดังกล่าว
อาจทำให้อาการปวดลดลงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ยาที่ใช้ได้แก่:
Antidepressants: ยาที่ถูกนำมาใช้ คือ Tricyclic antidepressants
เป็นยาที่อาจช่วยรักษาระดับของสารเคมีในสมอง และสารต่าง ๆ
เช่น serotonin ซี่งสามารถทำให้เกิดไมเกรนได้
Cardiovascular drugs: เช่น Calcium channel blockers เป็นยา ที่ถูกนำ
ไปรักษาโรคความดันโลหิต (cardiovascular disease)
และจากผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่า ยาในกลุ่มนี้ เช่น verapamil (Isoptin)
อาจป้องกันไม่ให้เกิดอาการปวดหัวไมเกรน และลดอาการเตือนได้
Beta Blockers ซึ่งเป็นยี่ใช้รักษาโรคความดันโลหิตสูง และโรค
หลอดเลือดหัวใจ (coronary artery) อาจลดใช้ป้องกันไมเกรน
และลดความรุนแรงของไมเกรนลงเมือมันเกิดขึ้น
Botox: องค์การอาหารและยา (FDA) ได้รับรองการใช้ยา Botox
หรือ onabotulinumtoxinA ให้ใช้รักษาปวดศีรษะโรคไมเกรน โดยการฉีด
ยาเข้าที่บริเวณหน้าผาก และคอ...สามารถลดความรุนแรง
และความถี่ของอาการไมเกรนในคนที่เป็นโรคปวดศีรษะเรื้อรัง
และหากการรักษาด้วยวิธีการฉีด (botox) ได้ผลดี ท่านอาจฉีดซ้ำทุก 3 เดือน
Anti-seizure medicines: ยาที่ใช้รักษาอาการชัก (anti-seizure)
สามารถลดอาการปวดศีรษะไมเกรนลงได้ ได้แก่ valproate sod.(Deparon),
gabapentin (Neurontin), และ topiramate (Topamax)
ในการใช้ยากลุ่มดังกล่าว จะมีผลข้างเคียง ได้แก่ cramps, ผมร่วง, คลื่นไส้,
อาเจียน, และวิงเวียน ดังนั้น แพทย์จะแนะนำให้ใช้ยากลุ่มนี้ก็ต่อเมื่อ
การรักษาอย่างอื่นไม่ได้ผลเท่านั้น
<< PREV NEXT >>
P. 7 : Migraine Treatment P 9 : Pain-Relieving Medicines
มาเรียนรู้เรื่องไมเกรน P. 7 : Migraine Treatment
Jan. 14,2014
Migraine Treatments
จากสถิติของสหรัฐฯ ได้รายงานเอาไว้ว่า...
มีคนทรมานจากอาการปวดศีณะไมเกรนถึง 30 ล้าน นับเป็นตัวเลขไม่น้อยเลย
จัดเป็นโรคที่พบได้ในคนมีอายุระหว่าง 25 – 55 และ สามารถเกิดขึ้นกับคนได้
ทุกอายุ แม้กระทั้งเด็กวัยรุ่น
มีการรักษาหลักสำหรับโรคไมเกรน สองอย่างด้วยกัน:
1. Acute Treatment: การรักษาอย่างฉับพลัน เป็นวิธีการระงับอาการปวดศีรษะ
หรือลดความรุนแรง หรือลดระยะเวลาของการเกิดไมเกรนลง
2. Preventive Treatment: เป็นการรักษาเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดอาการปวดศีรษะ
หรือลดการเกิดซ้ำ และความรุนแรงลง
ในขณะที่กำลังเกิดมีอาการปวดศีรษะไมเกรน และอาการกำลังดำเนินอย่างต่อ
เนื่องอยู่นั้น การทำให้อาการยุติลง หรือลดอาการปวด และอาการอื่น ๆ
ถือเป็นหลักการที่สำคัญ
เมื่อท่านเผชิญหน้ากับโรคไมเกรน...
ถ้าท่านเป็นคนหนึ่งที่ทรมานจากโรคไมเกรน...
สิ่งที่ท่านสามารถกระทำได้ คือเรียนรู้เรื่องการป้องกันไม่ให้มันเกิดขึ้น รวมไป
การเรียนรู้เรื่องยา และแนวทางการรักษาทางเลือกชนิดต่าง ๆ
ก่อนอื่นเราต้องยอมรับกันก่อนว่า...
เราไม่มีทางรักษาโรคไมเกรนให้หายขาดได้
ซึ่งหมายความว่า เมื่อท่านเป็นโรคดังกล่าว ท่านมีแนวโน้มที่จะต่อสู้(จัดการ)
กับโรคไปตลอดชีวิต
อย่างไรก็ตาม คนเป็นโรคไมเกรนส่วนใหญ่สามารถหาทางบรรเทา
อาการของโรคไมเกรนลงได้ โดยการใช้ยา หรือการรักษาด้วยแพทย์
ทางเลือก ซึ่งสามารถทำให้อาการปวดไมเกรนลดลงได้
ข้อมูลต่อจากนี้ เป็นทางเลือกสำหรับการรักษาอาการปวดศีรษะไมเกรน
ที่ใช้ได้ผลมากที่สุด
<< PREV.SECTION NEXT SECTION >>
P.6: Migraine Treatment P.8: Preventive Medicine
& Management
Migraine Treatments
จากสถิติของสหรัฐฯ ได้รายงานเอาไว้ว่า...
มีคนทรมานจากอาการปวดศีณะไมเกรนถึง 30 ล้าน นับเป็นตัวเลขไม่น้อยเลย
จัดเป็นโรคที่พบได้ในคนมีอายุระหว่าง 25 – 55 และ สามารถเกิดขึ้นกับคนได้
ทุกอายุ แม้กระทั้งเด็กวัยรุ่น
มีการรักษาหลักสำหรับโรคไมเกรน สองอย่างด้วยกัน:
1. Acute Treatment: การรักษาอย่างฉับพลัน เป็นวิธีการระงับอาการปวดศีรษะ
หรือลดความรุนแรง หรือลดระยะเวลาของการเกิดไมเกรนลง
2. Preventive Treatment: เป็นการรักษาเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดอาการปวดศีรษะ
หรือลดการเกิดซ้ำ และความรุนแรงลง
ในขณะที่กำลังเกิดมีอาการปวดศีรษะไมเกรน และอาการกำลังดำเนินอย่างต่อ
เนื่องอยู่นั้น การทำให้อาการยุติลง หรือลดอาการปวด และอาการอื่น ๆ
ถือเป็นหลักการที่สำคัญ
เมื่อท่านเผชิญหน้ากับโรคไมเกรน...
ถ้าท่านเป็นคนหนึ่งที่ทรมานจากโรคไมเกรน...
สิ่งที่ท่านสามารถกระทำได้ คือเรียนรู้เรื่องการป้องกันไม่ให้มันเกิดขึ้น รวมไป
การเรียนรู้เรื่องยา และแนวทางการรักษาทางเลือกชนิดต่าง ๆ
ก่อนอื่นเราต้องยอมรับกันก่อนว่า...
เราไม่มีทางรักษาโรคไมเกรนให้หายขาดได้
ซึ่งหมายความว่า เมื่อท่านเป็นโรคดังกล่าว ท่านมีแนวโน้มที่จะต่อสู้(จัดการ)
กับโรคไปตลอดชีวิต
อย่างไรก็ตาม คนเป็นโรคไมเกรนส่วนใหญ่สามารถหาทางบรรเทา
อาการของโรคไมเกรนลงได้ โดยการใช้ยา หรือการรักษาด้วยแพทย์
ทางเลือก ซึ่งสามารถทำให้อาการปวดไมเกรนลดลงได้
ข้อมูลต่อจากนี้ เป็นทางเลือกสำหรับการรักษาอาการปวดศีรษะไมเกรน
ที่ใช้ได้ผลมากที่สุด
<< PREV.SECTION NEXT SECTION >>
P.6: Migraine Treatment P.8: Preventive Medicine
& Management
มาเรียนรู้เรื่องไมเกรน P. 6 : Migraine Treatment & Management
Treatment and Management
เราได้ทราบจากผลการวิจัยว่า...
ช่วงเวลาที่ดีสำหรับป้องกัน ไม่ให้เกิดมีการเปลี่ยนแปลงในระดับโมเลกูล
ของสมอง ช่วง 10 -20 นาที ที่เริ่มเกิดมีอาการต่าง ๆ
และอีกช่วงที่เป็นเวลาที่ดีอีกช่วงหนึ่ง คือ 1 – 2 ชม. หลังเกิดมีอาการปวด
ศีรษะขึ้น ซึ่งจะเป็นช่วงเวลาที่เหมาะ และหลังจากนั้นเป็นต้นไป
ผิวหนังของใบหน้า และผิวหนังของศีรษะจะมีความไว (hypertsensitivity)
ต่อการสัมผัส...
ในขณะนี้ ปรากฏว่ามียาจำนวนมากมาย ถูกนำมาใช้รักษาโรคไมเกรน...
เป็นต้นว่า ยาที่สามารถซื้อหาได้เองจากร้านขายยา (OTC drugs) เช่น
แอสไพริน, ibruprofen, acetaminopheb, และยาที่มีส่วนผสมของ
Caffeine.... ซึ่งนำมาใช้ในการรักษาคนไข้โรคไมเกรนท
ซึ่งมีความรุนแรงจากน้อยถึงระดับปานกลาง
ยาต่างๆ ที่กล่าวมาเมื่อเข้าสู่กระแสเลือด...
มันจะกระจายสู่ส่วนต่างๆ ของร่างกาย ทำให้ความเจ็บปวด และการอักเสบ
ลดลง รวมไปถึงการช่วยทำใหเส้นเลือดที่บวมเกิดการหดเกร็ง
นอกจากยาดังกล่าว..
แพทย์อาจสั่งยากลุ่มอื่น ๆ ให้แก่คนไข้ปวดหัวไมเกรน เช่น
ยากลุ่ม antidepressants, ยาลดความดันโลหิตกลุ่ม beta blockers, ยาต้าน
อาการชัด (anti-seizure drugs), ergots, หรือยากลุ่มใหม่เรียก Triptans
โดยยาเหล่านี้มีบางตัวบางตัว สามารถช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอาการปวดศีรษะได้
<< PREV. SECTION NEXT SECTION >>
P. 6 : Migraine Triggers P. 8 : Migraine Treatment
เราได้ทราบจากผลการวิจัยว่า...
ช่วงเวลาที่ดีสำหรับป้องกัน ไม่ให้เกิดมีการเปลี่ยนแปลงในระดับโมเลกูล
ของสมอง ช่วง 10 -20 นาที ที่เริ่มเกิดมีอาการต่าง ๆ
และอีกช่วงที่เป็นเวลาที่ดีอีกช่วงหนึ่ง คือ 1 – 2 ชม. หลังเกิดมีอาการปวด
ศีรษะขึ้น ซึ่งจะเป็นช่วงเวลาที่เหมาะ และหลังจากนั้นเป็นต้นไป
ผิวหนังของใบหน้า และผิวหนังของศีรษะจะมีความไว (hypertsensitivity)
ต่อการสัมผัส...
ในขณะนี้ ปรากฏว่ามียาจำนวนมากมาย ถูกนำมาใช้รักษาโรคไมเกรน...
เป็นต้นว่า ยาที่สามารถซื้อหาได้เองจากร้านขายยา (OTC drugs) เช่น
แอสไพริน, ibruprofen, acetaminopheb, และยาที่มีส่วนผสมของ
Caffeine.... ซึ่งนำมาใช้ในการรักษาคนไข้โรคไมเกรนท
ซึ่งมีความรุนแรงจากน้อยถึงระดับปานกลาง
ยาต่างๆ ที่กล่าวมาเมื่อเข้าสู่กระแสเลือด...
มันจะกระจายสู่ส่วนต่างๆ ของร่างกาย ทำให้ความเจ็บปวด และการอักเสบ
ลดลง รวมไปถึงการช่วยทำใหเส้นเลือดที่บวมเกิดการหดเกร็ง
นอกจากยาดังกล่าว..
แพทย์อาจสั่งยากลุ่มอื่น ๆ ให้แก่คนไข้ปวดหัวไมเกรน เช่น
ยากลุ่ม antidepressants, ยาลดความดันโลหิตกลุ่ม beta blockers, ยาต้าน
อาการชัด (anti-seizure drugs), ergots, หรือยากลุ่มใหม่เรียก Triptans
โดยยาเหล่านี้มีบางตัวบางตัว สามารถช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอาการปวดศีรษะได้
<< PREV. SECTION NEXT SECTION >>
P. 6 : Migraine Triggers P. 8 : Migraine Treatment
วันพฤหัสบดีที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2557
มาเรียนรู้เรื่องไมเกรน P. 5: Migraine Triggers
Jan. 13, 2014
ในการเกิดไมเกรนแต่ละครั้ง...
จะมีปัจจัยหลายอย่าง สามารถกระตุ้นให้เกิดไมเกรนขึ้นได้....
มีประมาณมากกว่าครึ่งของคนเป็นโรคไมเกรน จะมีประสบการณ์
เกี่ยวกับการมีอาการเตือนล่วงหน้า อย่างน้อยหนึ่งอย่าง
อาการเตือนล่วงหน้าดังกล่าว มีชื่อเรียกว่า “ออร่า”
ตัวประตุ้น (triggers) ที่ทำให้เกิดไมเกรนได้แก่:
การเปลี่ยนแปลงในระดับฮอร์โมน โดยเฉพาะสตรี
เนื้อหมักเกลือ(Cured mea)
ผลไม้ชนิดต่างๆ เช่น กล้วย, ส้ม, อะโวคาโด
นม
นอนมากไป หรืออดหลับอดนอน
แสงสว่างจ้า หรือไฟกระพริบ
ความแปรปรวนของอากาศ, ความกดของอาหาร
อากาศร้อน หรือหนาว
ดื่มแอลกอฮอล หรือกาแฟ
ปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ และอื่นๆ ที่ไม่ได้กล่าวถึง อาจเป็นต้นเหตุกระตุ้น
ให้เกิดมีไมเกรนขึ้นได้ ซึ่งท่านจำเป็นต้องเรียนรู้เอาเอง...
และพยายามหลีกสิ่งเหล่านั้นให้ได้
<< PREV NEXT >>
P. 5: Types of Migraine P. 7: Migraine Treatment
www.healthline.com
ในการเกิดไมเกรนแต่ละครั้ง...
จะมีปัจจัยหลายอย่าง สามารถกระตุ้นให้เกิดไมเกรนขึ้นได้....
มีประมาณมากกว่าครึ่งของคนเป็นโรคไมเกรน จะมีประสบการณ์
เกี่ยวกับการมีอาการเตือนล่วงหน้า อย่างน้อยหนึ่งอย่าง
อาการเตือนล่วงหน้าดังกล่าว มีชื่อเรียกว่า “ออร่า”
ตัวประตุ้น (triggers) ที่ทำให้เกิดไมเกรนได้แก่:
การเปลี่ยนแปลงในระดับฮอร์โมน โดยเฉพาะสตรี
เนื้อหมักเกลือ(Cured mea)
ผลไม้ชนิดต่างๆ เช่น กล้วย, ส้ม, อะโวคาโด
นม
นอนมากไป หรืออดหลับอดนอน
แสงสว่างจ้า หรือไฟกระพริบ
ความแปรปรวนของอากาศ, ความกดของอาหาร
อากาศร้อน หรือหนาว
ดื่มแอลกอฮอล หรือกาแฟ
ปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ และอื่นๆ ที่ไม่ได้กล่าวถึง อาจเป็นต้นเหตุกระตุ้น
ให้เกิดมีไมเกรนขึ้นได้ ซึ่งท่านจำเป็นต้องเรียนรู้เอาเอง...
และพยายามหลีกสิ่งเหล่านั้นให้ได้
<< PREV NEXT >>
P. 5: Types of Migraine P. 7: Migraine Treatment
www.healthline.com
มาเรียนรู้เรื่องไมเกรน P.4 : The Causes of Migraine
Jan.11, 2013
เป็นที่กล่าวกันว่า...
มีเหตุการณ์หลายประการที่เกิดขึ้นภายในสมอง ซึ่งเป็นสาเหตุ
ทำให้เกิดโรคไมเกรนขึ้น...โดยเราไม่ทราบรายละเอียดมากนัก
ความผิดปกติที่เกิดขึ้น เข้าใจว่า เริ่มต้นเกิดขึ้นในเส้นประสาทของ
สมอง เส้นที่มีขนาดใหญ่ที่สุด- Ganglion of Trigeminal nerve
.ใน ganglia ของเส้นประสาท Trigeminal nerve.....
จะมีความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ เกิดขึ้ข ซึ่งมีการแพร่กระจายไปยังเครือข่าย
ของเส้นประสาทที่อยู่ในสมองส่วนรอบนอก(dura matter) อย่างรวดเร็ว
การเปลี่ยนแปลงภายในเส้นประสาทสมองดังกล่าว...
เชื่อว่าเป็นผลมาจากสารเคมีต่าง ๆ ที่ทำหน้าที่เป็นสารสื่อประสาทภายใน
สมอง เช่น dopamine และในขณะเดียวกันจะพบเห็นการเปลี่ยนแปลง
ในการไหลเวียนของเลือด พร้อมๆ กับมีการหดเกร็งของเส้นเลือด
ภายในสมอง
ภายใน 10 นาทีหลังการเกิดไมเกรน...
เส้นประสาทที่รับความรู้สึกความเจ็บปวด (pain-sensing nerve) ที่อยู่ใน
เครื่อข่ายของเส้นประส่าทสมอง จะเกิดการเปลี่ยนแปลงในโมเลกูล
เป็นเหตุให้เส้นประสาทสาทมีความไวต่อแรงกด (pressure)
นั้นคือสาเหตุที่ทำให้คนเป็นไมเกรนมีอาการปวดศีรษะเหมือนการเต้น
ของหัวใจ หรือการเต้นของชีพจร...
เป็นอาการปวดแบบตุบ ๆ...
<< PREV NEXT >>
P. 3: The Causes of Migraine P. 5: Types of Migraine
Does Matter
เป็นที่กล่าวกันว่า...
มีเหตุการณ์หลายประการที่เกิดขึ้นภายในสมอง ซึ่งเป็นสาเหตุ
ทำให้เกิดโรคไมเกรนขึ้น...โดยเราไม่ทราบรายละเอียดมากนัก
ความผิดปกติที่เกิดขึ้น เข้าใจว่า เริ่มต้นเกิดขึ้นในเส้นประสาทของ
สมอง เส้นที่มีขนาดใหญ่ที่สุด- Ganglion of Trigeminal nerve
.ใน ganglia ของเส้นประสาท Trigeminal nerve.....
จะมีความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ เกิดขึ้ข ซึ่งมีการแพร่กระจายไปยังเครือข่าย
ของเส้นประสาทที่อยู่ในสมองส่วนรอบนอก(dura matter) อย่างรวดเร็ว
การเปลี่ยนแปลงภายในเส้นประสาทสมองดังกล่าว...
เชื่อว่าเป็นผลมาจากสารเคมีต่าง ๆ ที่ทำหน้าที่เป็นสารสื่อประสาทภายใน
สมอง เช่น dopamine และในขณะเดียวกันจะพบเห็นการเปลี่ยนแปลง
ในการไหลเวียนของเลือด พร้อมๆ กับมีการหดเกร็งของเส้นเลือด
ภายในสมอง
ภายใน 10 นาทีหลังการเกิดไมเกรน...
เส้นประสาทที่รับความรู้สึกความเจ็บปวด (pain-sensing nerve) ที่อยู่ใน
เครื่อข่ายของเส้นประส่าทสมอง จะเกิดการเปลี่ยนแปลงในโมเลกูล
เป็นเหตุให้เส้นประสาทสาทมีความไวต่อแรงกด (pressure)
นั้นคือสาเหตุที่ทำให้คนเป็นไมเกรนมีอาการปวดศีรษะเหมือนการเต้น
ของหัวใจ หรือการเต้นของชีพจร...
เป็นอาการปวดแบบตุบ ๆ...
<< PREV NEXT >>
P. 3: The Causes of Migraine P. 5: Types of Migraine
Does Matter
วันอังคารที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2557
มาเรียนรู้เรื่องไมเกรน P. 3: Types of Migraine
Jan.11, 2013
ไมเกรนมีหลายชนิดด้วยกัน ที่เราควรทราบมีดังต่อไปนี้:
1.Common Migraine: บางทีเราเรียกว่า migraine without aura
เป็นโรคไมเกรนที่ปราศจากอาการเตือน (aura) เป็นชนิดที่เราพบได้มากที่สุด
โดยพบได้ประมาณ 80 % ของคนที่เป็นโรคไมเกรนทั้งหลาย
ในคนไข้กลุ่มนี้จะไม่มี "ออร่า" เกิดร่วมกับอาการปวดศีรษะ แต่จะมีอาการเหนื่อยล้า,
มีอารมณ์แปรปรวน, วิตกกังวล หรือมีความเครียด, และมีความรูสึกนึกคิดที่ไม่
แจมใส (mental fuzziness) ซึ่งเป็นอาการที่พบได้บ่อยที่สุด
2. Classic Migraine:
อีกชื่อเรียกว่า Migraine with aura หรือเป็นไมเกรนที่มีอาการเตือน
เกิดก่อนล่วงหน้า ซึ่งพบได้ประมาณหนึ่งในห้าของคนที่เป็นโรคไมเกรน
อาการเตือน อาจเป็นการเห็นภาพ และมีอาการอย่างอื่นปรากฏขึ้น
ก่อนที่จะมีอาการปวดศีรษะ (headache) เราเรียกว่า Aura
และบางครั้งอาจเกิดในขณะที่มีอาการปวดศีรษะได้
อาการเตือนที่พบเห็น คนป่วยจะเห็นอาการเตือน ซึ่งเหมือนกับแสงวูบวาบ,
แสงวิงทะแยงซิกแซก, หรือเป็นจุดดำปรากฏให้เห็นโดยคนไข้เท่านั้น
นอกจากแสงดังกล่าว คนไข้อาจรู้สึกมีอาการชา, รู้สึกเสียวซ่า, พูดลำบาก,
มีเสียงภายในหู, ได้กลึ่น หรือมีรสที่แปลกประหลาดปรากฏในปาก
3. Menstrual Migraine:
โรคไมเกรนชนิดนี้ จะสัมพันธ์กับความผันแปรของระดับ estrogen
ภายในกระแสเลือด ในขณะมีประจำเดือน โดยมีระดับ ขึ้น ๆ ลง ๆ
มีการพบว่า สตรีที่เป็นโรคไมเกรนชนดนี้ ประมาณ 60 – 70 % จะ
มีความสัมพันธ์ระหว่างอาการปวดศีรษะ กับ การมีประจำเดือน
4. Abdominal Migraine:
คนที่เป็นโรคไมเกรนชนิดนี้ จะมีปรากฏการณืของอาการปวดท้อง
อย่างรุนแรง, มีอาการคลื่นไส้, หรืออาเจียน โดยเกิดขึ้นนาน
ถึง 72 ชม. โดยจะพบเห็นในเด็กผู้ซึ่งมีประวัติว่า คนในครอบเป็น
โรคไมเกรน
เด็กที่ทรมานจาก abdominal migraine มักจะทรมานจากอาการปวด
ศีรษะเมื่อเขาเจริญเป็นผู้ใหญ่ (classical migraine headache)
5. Retinal Migraine:
อีกชื่อเราเรียกว่า ocular migraine
คนเป็นโรคไมเกรนชนิดนี้จะสูญเสียภาพไปบางส่วน หรือสูญเสีย
ภาพไปหมด โดยปรากฏที่ตาด้านใดด้านหนึ่ง ซึ่งเสียเวลานาน
เป็นหนึ่งชั่วโมง หรือน้อยกว่า โดยไม่มีอาการปวดศีรษะเกิดขึ้นได้
6. Familial Hemiplegic Migraine
เป็นโรคไมเกรนที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม โดยความผิดปกติใน
โครโมโซมตัวหนึ่งในหลายๆโครโมโซม
คนที่เป็นไมเกรนชนิดนี้ พบว่า ด้านใดด้านหนึ่งเกิดอัมพาติ โดย
มีการอ่อนแรงในระยะสั้น ๆ และมีอาการชาในระหว่างที่มีอาการ
ไมเกรนปวดศีรษะ
คนที่เป็นไมเกรนชนิดนี้จะไม่ตอบสนองต่อยาที่เราใช้กรักษา...
จำเป็นต้องปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโดยด่วน
7. Basilar Artery Migraine
คนที่เป็นไมเกรนชนิดนี้ จะมาด้วยอาการปวดศีรษะที่ด้านท้ายทอย
และจะร่วมกับการมีอาการเตือนล่วงหน้า (aura) เป็นตนว่า ...
อาการวิงเวียน, สับสน, ปัญหาด้านการพูดการจา, ปัญหาด้านฟัง
เสียง, และด้านสายตา
คนเป็น Basilar migraine มักจะมีส่วนสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลง
ในฮอร์โมน และส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นกับผู้ใหญ่
8. Ophthalmoplegic Migraine
เป็นโรคไมเกรนที่พบได้น้อย แต่หากเกิดขึ้นกับใครแล้ว จะต้องได้
รับการรักษาอย่างรีบด่วน โดยเขาจะเกิดอัมพาติของกล้ามเนื้อตา
(paralysis of nerve for eye movement)
ซึ่งอาจเป็นเพียงบางส่วน หรืออาจเป็นทั้งหมด
9. Status Migrainosus
เป็นโรคไมเกรนที่พบได้น้อย มีลักษณะที่สำคัญ คือ มีอาการปวด
ศีรษะอย่างรุนแรง และเป็นนานมากกว่า 72 ชั่วโมง
เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะต้องรับไว้รักษาในโรงพยาบาล เพื่อบรรเทาอาการ
ทั้งหลายที่เกิดขึ้น
10. Transformed or Chronic Migraine
เป็นโรคไมเกรนอีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งตจะมีลักษณะปวดศีรษะอย่าง
เรื้อรัง บางที่เราเรียกว่า coexisting migraine and tension
Type headache เป็นโรคที่ท้าทายแพทย์ผู้ทำการรักษา...
.
<< PREV NEXT >>
P. 2 Types of Headaches P. 4 : The Causes of Migraine
http://www.healthline.com/health/migraine
ไมเกรนมีหลายชนิดด้วยกัน ที่เราควรทราบมีดังต่อไปนี้:
1.Common Migraine: บางทีเราเรียกว่า migraine without aura
เป็นโรคไมเกรนที่ปราศจากอาการเตือน (aura) เป็นชนิดที่เราพบได้มากที่สุด
โดยพบได้ประมาณ 80 % ของคนที่เป็นโรคไมเกรนทั้งหลาย
ในคนไข้กลุ่มนี้จะไม่มี "ออร่า" เกิดร่วมกับอาการปวดศีรษะ แต่จะมีอาการเหนื่อยล้า,
มีอารมณ์แปรปรวน, วิตกกังวล หรือมีความเครียด, และมีความรูสึกนึกคิดที่ไม่
แจมใส (mental fuzziness) ซึ่งเป็นอาการที่พบได้บ่อยที่สุด
2. Classic Migraine:
อีกชื่อเรียกว่า Migraine with aura หรือเป็นไมเกรนที่มีอาการเตือน
เกิดก่อนล่วงหน้า ซึ่งพบได้ประมาณหนึ่งในห้าของคนที่เป็นโรคไมเกรน
อาการเตือน อาจเป็นการเห็นภาพ และมีอาการอย่างอื่นปรากฏขึ้น
ก่อนที่จะมีอาการปวดศีรษะ (headache) เราเรียกว่า Aura
และบางครั้งอาจเกิดในขณะที่มีอาการปวดศีรษะได้
อาการเตือนที่พบเห็น คนป่วยจะเห็นอาการเตือน ซึ่งเหมือนกับแสงวูบวาบ,
แสงวิงทะแยงซิกแซก, หรือเป็นจุดดำปรากฏให้เห็นโดยคนไข้เท่านั้น
นอกจากแสงดังกล่าว คนไข้อาจรู้สึกมีอาการชา, รู้สึกเสียวซ่า, พูดลำบาก,
มีเสียงภายในหู, ได้กลึ่น หรือมีรสที่แปลกประหลาดปรากฏในปาก
3. Menstrual Migraine:
โรคไมเกรนชนิดนี้ จะสัมพันธ์กับความผันแปรของระดับ estrogen
ภายในกระแสเลือด ในขณะมีประจำเดือน โดยมีระดับ ขึ้น ๆ ลง ๆ
มีการพบว่า สตรีที่เป็นโรคไมเกรนชนดนี้ ประมาณ 60 – 70 % จะ
มีความสัมพันธ์ระหว่างอาการปวดศีรษะ กับ การมีประจำเดือน
4. Abdominal Migraine:
คนที่เป็นโรคไมเกรนชนิดนี้ จะมีปรากฏการณืของอาการปวดท้อง
อย่างรุนแรง, มีอาการคลื่นไส้, หรืออาเจียน โดยเกิดขึ้นนาน
ถึง 72 ชม. โดยจะพบเห็นในเด็กผู้ซึ่งมีประวัติว่า คนในครอบเป็น
โรคไมเกรน
เด็กที่ทรมานจาก abdominal migraine มักจะทรมานจากอาการปวด
ศีรษะเมื่อเขาเจริญเป็นผู้ใหญ่ (classical migraine headache)
5. Retinal Migraine:
อีกชื่อเราเรียกว่า ocular migraine
คนเป็นโรคไมเกรนชนิดนี้จะสูญเสียภาพไปบางส่วน หรือสูญเสีย
ภาพไปหมด โดยปรากฏที่ตาด้านใดด้านหนึ่ง ซึ่งเสียเวลานาน
เป็นหนึ่งชั่วโมง หรือน้อยกว่า โดยไม่มีอาการปวดศีรษะเกิดขึ้นได้
6. Familial Hemiplegic Migraine
เป็นโรคไมเกรนที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม โดยความผิดปกติใน
โครโมโซมตัวหนึ่งในหลายๆโครโมโซม
คนที่เป็นไมเกรนชนิดนี้ พบว่า ด้านใดด้านหนึ่งเกิดอัมพาติ โดย
มีการอ่อนแรงในระยะสั้น ๆ และมีอาการชาในระหว่างที่มีอาการ
ไมเกรนปวดศีรษะ
คนที่เป็นไมเกรนชนิดนี้จะไม่ตอบสนองต่อยาที่เราใช้กรักษา...
จำเป็นต้องปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโดยด่วน
7. Basilar Artery Migraine
คนที่เป็นไมเกรนชนิดนี้ จะมาด้วยอาการปวดศีรษะที่ด้านท้ายทอย
และจะร่วมกับการมีอาการเตือนล่วงหน้า (aura) เป็นตนว่า ...
อาการวิงเวียน, สับสน, ปัญหาด้านการพูดการจา, ปัญหาด้านฟัง
เสียง, และด้านสายตา
คนเป็น Basilar migraine มักจะมีส่วนสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลง
ในฮอร์โมน และส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นกับผู้ใหญ่
8. Ophthalmoplegic Migraine
เป็นโรคไมเกรนที่พบได้น้อย แต่หากเกิดขึ้นกับใครแล้ว จะต้องได้
รับการรักษาอย่างรีบด่วน โดยเขาจะเกิดอัมพาติของกล้ามเนื้อตา
(paralysis of nerve for eye movement)
ซึ่งอาจเป็นเพียงบางส่วน หรืออาจเป็นทั้งหมด
9. Status Migrainosus
เป็นโรคไมเกรนที่พบได้น้อย มีลักษณะที่สำคัญ คือ มีอาการปวด
ศีรษะอย่างรุนแรง และเป็นนานมากกว่า 72 ชั่วโมง
เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะต้องรับไว้รักษาในโรงพยาบาล เพื่อบรรเทาอาการ
ทั้งหลายที่เกิดขึ้น
10. Transformed or Chronic Migraine
เป็นโรคไมเกรนอีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งตจะมีลักษณะปวดศีรษะอย่าง
เรื้อรัง บางที่เราเรียกว่า coexisting migraine and tension
Type headache เป็นโรคที่ท้าทายแพทย์ผู้ทำการรักษา...
.
<< PREV NEXT >>
P. 2 Types of Headaches P. 4 : The Causes of Migraine
http://www.healthline.com/health/migraine
ชนิดของอาการปวดศีรษะ P. 2 : Types of Headache
Jan. 11,2014
เมื่อมีอาการปวดศีรษะเกิดขึ้น...
อาการทีเกิดย่อมมีความรุนแรงไม่เท่ากัน โดยกล่าวได้ว่า
ทุกคนจะมีโอกาสเกิดอาการปวดศีรษะ โดยเฉพาะจากความความเครียดได้
แต่มีอาการปวดศีรษะอีกสองชนิด ที่เราควรรู้นั้นคือ:
cluster headache และ migraine
Cluster Headaches จะเกิดขึ้นกับชายได้มากกว่าเกิดกับสตรี
โดยมีลักษณะอาการที่สำคัญ คือ มีอาการปวดอย่างรุนแรงที่บริเวณ
ด้านหลังของลูกตา และทางด้านหลังของศีรษะด้านใดด้านหนึ่ง
ซึ่งมักเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มีอาการสูงสุดภายใน 10 นาที
และสิ้นสุดลงภายใน 15 นาที ถึง 3 ชม.
Tension Headaches เป็นอาการปวดที่มีลักษณะเหมือนศีรษะถูกบีบรัด
คล้ายๆ กับถุกรัดด้วยแผ่นยาง (tight band) โดยมีตัวกระตุ้นหลายอย่าง
เช่น กล้ามเนื้อมีการตึงตัว (muscle tension) ของบริเวณต้นคอ และกล้ามเนื้อของ
ศีรษะ, อาการถอนจากกาแฟ, อดนอน, หรือภาวะขาดน้ำ
อาการปวดศีรษะดังกล่าว (Tension headache) จะเป็นอาการปวดศีรษะ
ที่พบได้บ่อยที่สุด โดยตอบสนองต่อยาแก้ปวดที่ซื้อจากร้านขายยา (OTC)
แต่หากใช้กันมากเกินไป หรือใช้ไม่ถูกต้องอาจทำให้เกิดอาการปวดศีรษะ
กลับเกิดขึ้นไดอีก (rebound headaches)
ยาทุกตัวที่ใช้รักษาอาการปวดศีรษะเพื่อลดความเจ็บปวด
สามารถทำให้อาการปวดเลวลงได้จริง แต่หากใช้โดยไม่ระมัดระวัง อาจก่อ
ให้เกิดอาการปวดศีรษะเพิ่มขึ้น และต่อต้านต่อการรักษาได้มากขึ้น
สำหรับโรคไมเกรน (Migraine)...
จะมีความแตกต่างจากโรคปวดศีรษะชนิดอื่น ๆ โดยเป็นโรคเกี่ยวกับระบบ
ประสาทเอง
อาการปวดของโรคไมเกรน มักจะมีความรุนแรงถึงขั้นทำลายคุณภาพชีวิต
ของคนไข้ดเอง โดยมีอาการปวดศีรษะแบบเต้นตุบๆ ที่ศีรษะด้านใดด้านหนึ่ง
ซึ่งจะพบเห็นในสตรีได้มากกว่าบุรุษ และมักจะเกิดในสมาชิคครอบครัว
แม้กระทั้งเด็ก ก็เป็นโรคดังกล่าวได้
ในระหว่างที่มีอาการของไมเกรน...
คนไข้อาจมีอาการคลื่นไส้, อาเจียน, มีความไวต่อแสง ซึ่งอาจกินเวลานาน
เป็นเวลา 4 ชม. ถึงสามวัน กว่าอาการจะหาย
คนเป็นไมเกรนบางราย จะมีอาการเตือนล่วงหน้า เช่น มีอาการ “ออร่า”
ซึ่งเป็นสัญญาณเติอนให้ทราบล่วงหน้า เช่น เห็นภาพมัว (blur vision) หรือมอง
เห็นดวงดาวระยิบระยับ เป็นต้น
สัญญาณเตือน "ออร่า" (aura) อาจเกิดก่อนประมาณ 1 วัน ถึง 10 นาทีก่อนที่
จะมีอาการไมเกรน...หรือบางคนที คนที่เป็นโรคไมเกรนอาจไม่มีอาการเตือน
ปรากฏให้คนไข้รู้สึกได้
นับเป็นเรื่องที่น่าแปลก...
เพราะจากสถิติของสหรัฐฯ รายงานว่า โรคไมเกรนเป็นโรคที่เกิดขึ้นกับ
คนชาวอะเริกันได้มากกว่า 10 % ของประชาชน
และในจำนวนดังกล่าว ปรากกว่า ประมาณครึ้งไม่เคยได้รับการวินิจฉัย
<< PREV. NEXT >>
P. 1 : What is Migraine? P. 3: Types of Migraine
เมื่อมีอาการปวดศีรษะเกิดขึ้น...
อาการทีเกิดย่อมมีความรุนแรงไม่เท่ากัน โดยกล่าวได้ว่า
ทุกคนจะมีโอกาสเกิดอาการปวดศีรษะ โดยเฉพาะจากความความเครียดได้
แต่มีอาการปวดศีรษะอีกสองชนิด ที่เราควรรู้นั้นคือ:
cluster headache และ migraine
Cluster Headaches จะเกิดขึ้นกับชายได้มากกว่าเกิดกับสตรี
โดยมีลักษณะอาการที่สำคัญ คือ มีอาการปวดอย่างรุนแรงที่บริเวณ
ด้านหลังของลูกตา และทางด้านหลังของศีรษะด้านใดด้านหนึ่ง
ซึ่งมักเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มีอาการสูงสุดภายใน 10 นาที
และสิ้นสุดลงภายใน 15 นาที ถึง 3 ชม.
Tension Headaches เป็นอาการปวดที่มีลักษณะเหมือนศีรษะถูกบีบรัด
คล้ายๆ กับถุกรัดด้วยแผ่นยาง (tight band) โดยมีตัวกระตุ้นหลายอย่าง
เช่น กล้ามเนื้อมีการตึงตัว (muscle tension) ของบริเวณต้นคอ และกล้ามเนื้อของ
ศีรษะ, อาการถอนจากกาแฟ, อดนอน, หรือภาวะขาดน้ำ
อาการปวดศีรษะดังกล่าว (Tension headache) จะเป็นอาการปวดศีรษะ
ที่พบได้บ่อยที่สุด โดยตอบสนองต่อยาแก้ปวดที่ซื้อจากร้านขายยา (OTC)
แต่หากใช้กันมากเกินไป หรือใช้ไม่ถูกต้องอาจทำให้เกิดอาการปวดศีรษะ
กลับเกิดขึ้นไดอีก (rebound headaches)
ยาทุกตัวที่ใช้รักษาอาการปวดศีรษะเพื่อลดความเจ็บปวด
สามารถทำให้อาการปวดเลวลงได้จริง แต่หากใช้โดยไม่ระมัดระวัง อาจก่อ
ให้เกิดอาการปวดศีรษะเพิ่มขึ้น และต่อต้านต่อการรักษาได้มากขึ้น
สำหรับโรคไมเกรน (Migraine)...
จะมีความแตกต่างจากโรคปวดศีรษะชนิดอื่น ๆ โดยเป็นโรคเกี่ยวกับระบบ
ประสาทเอง
อาการปวดของโรคไมเกรน มักจะมีความรุนแรงถึงขั้นทำลายคุณภาพชีวิต
ของคนไข้ดเอง โดยมีอาการปวดศีรษะแบบเต้นตุบๆ ที่ศีรษะด้านใดด้านหนึ่ง
ซึ่งจะพบเห็นในสตรีได้มากกว่าบุรุษ และมักจะเกิดในสมาชิคครอบครัว
แม้กระทั้งเด็ก ก็เป็นโรคดังกล่าวได้
ในระหว่างที่มีอาการของไมเกรน...
คนไข้อาจมีอาการคลื่นไส้, อาเจียน, มีความไวต่อแสง ซึ่งอาจกินเวลานาน
เป็นเวลา 4 ชม. ถึงสามวัน กว่าอาการจะหาย
คนเป็นไมเกรนบางราย จะมีอาการเตือนล่วงหน้า เช่น มีอาการ “ออร่า”
ซึ่งเป็นสัญญาณเติอนให้ทราบล่วงหน้า เช่น เห็นภาพมัว (blur vision) หรือมอง
เห็นดวงดาวระยิบระยับ เป็นต้น
สัญญาณเตือน "ออร่า" (aura) อาจเกิดก่อนประมาณ 1 วัน ถึง 10 นาทีก่อนที่
จะมีอาการไมเกรน...หรือบางคนที คนที่เป็นโรคไมเกรนอาจไม่มีอาการเตือน
ปรากฏให้คนไข้รู้สึกได้
นับเป็นเรื่องที่น่าแปลก...
เพราะจากสถิติของสหรัฐฯ รายงานว่า โรคไมเกรนเป็นโรคที่เกิดขึ้นกับ
คนชาวอะเริกันได้มากกว่า 10 % ของประชาชน
และในจำนวนดังกล่าว ปรากกว่า ประมาณครึ้งไม่เคยได้รับการวินิจฉัย
<< PREV. NEXT >>
P. 1 : What is Migraine? P. 3: Types of Migraine
มาเรียนรู้เรื่องไมเกรน P. 1 : What is Migraine ?
Jan. 11, 2013
ไมเกรนเป็นโรคชนิดหนึ่ง โดยแสดงลักษณะพิเศษด้วยอาการปวดศีรษะ
อย่างรุนแรงซ้ำแล้วซ้ำอีก ซึ่งมักจะเกิดขึ้นที่ด้านใดด้านหนึ่งของศีรษะ
โดยอาการปวดมีลักษณะเต้นตุบ ๆ เหมือนการเต้นของชีพจร
อาการปวดปวดศีรษะไมเกรน มักจะร่วมกับอาการคลื่นไส้, อาเจียน,
และมีการตอบสนองไวต่อแสง และเสียงเป็นอย่างมาก
และเมื่อเกิดขึ้นแล้ว จะกินเวลานานตั้งแต่ 4 ชั่วโมงถึง 3 วัน
ปวดศีรษะไมเกรน มักจะวินิจฉัยผิดเป็นปวดศีรษะที่เกิดจากความ
วิตกกังวล หรือความเครียด (tension headache)
เมื่อเกิดไรคไมเกรนขึ้นมา มันมีความรุนแรงมากพอที่จะกระทบกับ
คุณภาพชีวิต, กับการหลับนอน, การงาน, และกิจวัตรประจำวัน
โดยอาจเกิดขึ้นได้หลายครั้งต่ออาทิตย์ หรือนานๆ เกิดครั้ง
เช่นปีละครั้งหรือสองครั้ง....
ซึ่งนาน ๆ จะมีโอกาสได้พบเห็น
ว่าตามสถิติของสหรัฐฯ...
เขารายงานเอาไว้ว่า มีคนชาวอะเมริกันจำนวน 30 ล้าน จะทรมานจาก
โรคไมเกรน... และในจำนวนดังกล่าว จะเกิดในคนที่มีอายุระหว่าง
25 – 50 และอาจเกิดในเด็กเล็ก และช่วงวัยรุ่นได้
โดยเกิดในเพศหญิงได้มากกว่าเพศชายถึงสามเท่า
<<< PREV NEXT >> :
Migraine: Postdrome Migraine: Types of Headaches
ไมเกรนเป็นโรคชนิดหนึ่ง โดยแสดงลักษณะพิเศษด้วยอาการปวดศีรษะ
อย่างรุนแรงซ้ำแล้วซ้ำอีก ซึ่งมักจะเกิดขึ้นที่ด้านใดด้านหนึ่งของศีรษะ
โดยอาการปวดมีลักษณะเต้นตุบ ๆ เหมือนการเต้นของชีพจร
อาการปวดปวดศีรษะไมเกรน มักจะร่วมกับอาการคลื่นไส้, อาเจียน,
และมีการตอบสนองไวต่อแสง และเสียงเป็นอย่างมาก
และเมื่อเกิดขึ้นแล้ว จะกินเวลานานตั้งแต่ 4 ชั่วโมงถึง 3 วัน
ปวดศีรษะไมเกรน มักจะวินิจฉัยผิดเป็นปวดศีรษะที่เกิดจากความ
วิตกกังวล หรือความเครียด (tension headache)
เมื่อเกิดไรคไมเกรนขึ้นมา มันมีความรุนแรงมากพอที่จะกระทบกับ
คุณภาพชีวิต, กับการหลับนอน, การงาน, และกิจวัตรประจำวัน
โดยอาจเกิดขึ้นได้หลายครั้งต่ออาทิตย์ หรือนานๆ เกิดครั้ง
เช่นปีละครั้งหรือสองครั้ง....
ซึ่งนาน ๆ จะมีโอกาสได้พบเห็น
ว่าตามสถิติของสหรัฐฯ...
เขารายงานเอาไว้ว่า มีคนชาวอะเมริกันจำนวน 30 ล้าน จะทรมานจาก
โรคไมเกรน... และในจำนวนดังกล่าว จะเกิดในคนที่มีอายุระหว่าง
25 – 50 และอาจเกิดในเด็กเล็ก และช่วงวัยรุ่นได้
โดยเกิดในเพศหญิงได้มากกว่าเพศชายถึงสามเท่า
<<< PREV NEXT >> :
Migraine: Postdrome Migraine: Types of Headaches
วันพฤหัสบดีที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2557
รู้ทันโรคไมเกรน (Understanding Migraines) P. 5: The Postdrome
Jan. 8,2014
ภายหลังอาการปวดศีรษะได้หายไป...
ภาวะไมเกรน (migraine attack) ที่เกิดขึ้นกับท่านยังไม่ได้หายไปหมดหรอก
เพราะมันยังมีระยะหลังการปวดศีรษะ หรือที่เรียกว่า postdrome
ซึ่งบางที่เราเรียกว่า “ช่วงหลังอาการปวดศีรษะ” (postheadache) เป็นระยะที่
เกิดตามหลังระยะปวดศีรษะทันที
คนที่เป็นโรคไมเกรนส่วนใหญ่ เมื่อเกิดมีอาการไมเกรนขึ้นมา จะกินเวลานาน
หลายชั่วโมง มีหลายคนพยายามอธิบายภาวะหลังปวดศีรษะว่า postdrome
ว่า มันมีความรู้สึกเหมือนกับผีดิบ “zombie” หรือ อาการ “เมาค้าง”
และที่สำคัญอาการเหล่านี้มักเป็นผลมาจากยาต่างๆ ที่ใช้รักษาโรคไมเกรนนั้น
เอง แต่อาจเกิดจากโรคไมเกรนเองก้ได้
อาการแสดงของไมเกรนหลังอาการการปวดศีรษะ มักจะเป็นผลมาจากความ
ผิดปกติของการไหลเวียนเลือดสู่สมอง ซึ่งเป็นได้นานถึง 24 ชั่วโมงหลังมี
อาการปวดศีรษะได้สิ้นสุดลง
สำหรับในกรณี (mjgraine) ที่มีอาการของ prodrome และ/หรือมี aura
และไม่มีอาการปวดศีรษะ พบว่า ระยะหลังอาการปวดศีรษะอาจยังคงมีอยู่
อาการของ ระยะ prodrome อาจประกอบด้วย:
มีอารมณ์เปลี่ยนแปลง....ซึมเศร้า
ปฏิสัมพันธ์กับคนคนรอบข้าง (สมาชิคในครอบครัวม เพื่อน)ลดลง
รู้สึกเหนือยเพลีย
สมาธิ และความเข้าใจลดลง
ความรู้สึกนิกคิดถดถอย
โดยสรุป
คนเป็นโรคไมเกรน...ไม่จำเป็นต้องมีอาการปวดศีรษะเพียงอย่างเดียว
ยังมีอาการอย่างอื่นปรากฏใน 4 ระยะ และที่สำคัญ คนเป็นไมเกรนไม่จำเป็น
ต้อมีอาการปวดศีรษะก็ได้
หากเราสามารถเข้าใจ และทราบระยะต่างๆ ของโรคไมเกรนได้
ย่อมเป็นประโยชน์ ต่อการควบคุมโรคได้ตั้งแต่ป้องกันไม่ให้มันเกิด
หรือเมื่อเกิดขึ้นแล้ว สามารถควบคุมไม่ให้มีอาการรุนแรงได้...
<< BACK STORY : >> NEXT :
P. Migraines : Headache P. มาเรียนรู้เรื่องไมเกรน : What is Migraine?
ภายหลังอาการปวดศีรษะได้หายไป...
ภาวะไมเกรน (migraine attack) ที่เกิดขึ้นกับท่านยังไม่ได้หายไปหมดหรอก
เพราะมันยังมีระยะหลังการปวดศีรษะ หรือที่เรียกว่า postdrome
ซึ่งบางที่เราเรียกว่า “ช่วงหลังอาการปวดศีรษะ” (postheadache) เป็นระยะที่
เกิดตามหลังระยะปวดศีรษะทันที
คนที่เป็นโรคไมเกรนส่วนใหญ่ เมื่อเกิดมีอาการไมเกรนขึ้นมา จะกินเวลานาน
หลายชั่วโมง มีหลายคนพยายามอธิบายภาวะหลังปวดศีรษะว่า postdrome
ว่า มันมีความรู้สึกเหมือนกับผีดิบ “zombie” หรือ อาการ “เมาค้าง”
และที่สำคัญอาการเหล่านี้มักเป็นผลมาจากยาต่างๆ ที่ใช้รักษาโรคไมเกรนนั้น
เอง แต่อาจเกิดจากโรคไมเกรนเองก้ได้
อาการแสดงของไมเกรนหลังอาการการปวดศีรษะ มักจะเป็นผลมาจากความ
ผิดปกติของการไหลเวียนเลือดสู่สมอง ซึ่งเป็นได้นานถึง 24 ชั่วโมงหลังมี
อาการปวดศีรษะได้สิ้นสุดลง
สำหรับในกรณี (mjgraine) ที่มีอาการของ prodrome และ/หรือมี aura
และไม่มีอาการปวดศีรษะ พบว่า ระยะหลังอาการปวดศีรษะอาจยังคงมีอยู่
อาการของ ระยะ prodrome อาจประกอบด้วย:
มีอารมณ์เปลี่ยนแปลง....ซึมเศร้า
ปฏิสัมพันธ์กับคนคนรอบข้าง (สมาชิคในครอบครัวม เพื่อน)ลดลง
รู้สึกเหนือยเพลีย
สมาธิ และความเข้าใจลดลง
ความรู้สึกนิกคิดถดถอย
โดยสรุป
คนเป็นโรคไมเกรน...ไม่จำเป็นต้องมีอาการปวดศีรษะเพียงอย่างเดียว
ยังมีอาการอย่างอื่นปรากฏใน 4 ระยะ และที่สำคัญ คนเป็นไมเกรนไม่จำเป็น
ต้อมีอาการปวดศีรษะก็ได้
หากเราสามารถเข้าใจ และทราบระยะต่างๆ ของโรคไมเกรนได้
ย่อมเป็นประโยชน์ ต่อการควบคุมโรคได้ตั้งแต่ป้องกันไม่ให้มันเกิด
หรือเมื่อเกิดขึ้นแล้ว สามารถควบคุมไม่ให้มีอาการรุนแรงได้...
<< BACK STORY : >> NEXT :
P. Migraines : Headache P. มาเรียนรู้เรื่องไมเกรน : What is Migraine?
โรคเส้นประสาทจากเบาหวาน P. 6: Diabetic neuropathy : Control Pain
ความเจ็บปวดที่เกิดจากโรคเบาหวาน...
ถือเป็นปัญหาสำคัญ ซึ่งยากต่อการรักษา และสามารถกระทบกับวิถีชีวิต
ของท่านได้อย่างมาก ความเจ้บปวดจากภาวะดังกล่าว มักจะมี่อาการเลวลง
ในตอนกลางคืน สามารถกระทบกับการหลับนอนได้
แต่ยังดีหน่อยตรงที่...
คนที่เป็นโรคเส้นประสาทถูกทำลายโดยเบาหวานนั้น มีเพียงส่วนน้อยเท่านั้น
ที่สำคัญ อาการปวดประสาทของบางคนสามารถหายได้เอง โดยเฉพาะใน
รายที่เลือดเป็นกรด - (diabetic ketoacidosis), น้ำหนักตัวลดลงอย่า’มาก,
หรือภายหลังการเปลี่ยนแปลงการควบคุมระดับน้ำตาล...
มียาหลายชนิด ถูกนำมาใช้ เพื่อรักษาภาวะโรคเส้นประสาทจากเบาหวาน
ซึ่งได้รับการรับรองจาก FDA ได้แก่ duloxetine และ pregabalin
นอกจากนั้น ยังมียากลุ่มอื่นอีก เช่น tricyclic medications (emitriptyline),
Gabapentin, tramadol, และ alpha-lipoic acid
Tricyclic antidepressants:
มียาหลายตัวในกลุ่มนี้ ซึ่งถูกนำมาใช้รักษาอาการปวดเรื้อรัง
เช่น amitriptyline, Nortriptyline, และ desipramine
ผลจากการทดลองภายในคนไข้แสดงให้เห็นว่า tricyclic antidepressant
Drugs จะใช้ได้ผลดีในคนที่มีความเจ็บปวดจากเบาหวาน โดยการใช้ยา
ในขนาดต่ำ กว่าที่ใช้รักษาคนทีตกอยู่ในภาวะซึมเศร้า (depression)
ยาในกลุ่มนี้มักจะใช้ในเวลาก่อนนอน โดยเริ่มในขนาดต่ำ
แล้วค่อยเพิ่มขนาดของยาขึ้นอย่างช้า ๆ ...
ที่ควรระวัง คือ ห้ามใช้ยากลุ่มนี้ในคนที่เป็นโรคหัวใจ
ยากลุ่ม Tricyclic medications สามารถใช้ร่วมกับยา gabapentin
และ pregabalin แต่ไม่ควรใช้ร่วมกับ duloxetine
ผลข้างเคียงต่างๆ ของยากลุ่ม Tricyclic antidepressants ได้แก่
ทำให้ปากแป้ง, ง่วงนอน, วิงเวียน, และท้องผูก
Duloxetine :
Duloxetine เป็นยากลุ่ม antidepressants ซึ่งมักมีผลดีในการบรรเทา
อาการเจ็บปวดประสาทจากเบาหวาน
ผลจากการทดลงอ (clinical trial) ในระยะสั้นๆ พบว่า
Duloxetine จะได้ผลดีกว่ายาหลอก (placebo) แต่ในระยะยาวพบว่า
ประสิทธิภาพของยา และความปลอดภัยยังไม่เป็นที่ยอมรับ
Duloxetine มักจะถูกใช้กินวันละครั้งหลังอาหาร ในบางราย
อาจเพิ่มเป็นสองครั้ง และไม่ควรใช้ยาตัวนี้ร่วมกับยากลุ่ม Tricyclic antidepressants
ผลข้างเคียงจากการใช้ยาตัวนี้ คือ อาการคลื่นไส้, ล่วงนอน, วิงเวียน,
ทำให้เบื่ออาหาร, และท้องผูก
Gabapentin :
Gabapenin เป็นยาที่ใช้รักษาอาการชัก (anti-seizure)
เป็นยารับประทาน รับวันละสามครั้ง
ผลข้างเคียงได้แก่ วิงเวียน และอาการสับสน
ยาตัวนี้สามารถใช้กับยา Tricyclic antidepressants หรือ duloxetine
มีคนไข้บางราย จะใช้ยา Pregabalin วันละสามครั้ง
เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดอาการปวดในตอนกลางคืน
Pregabalin:
Pregabalin เป็นยาต้านอาการชัก (anti-seizure medication) ลักษณะ
เหมือนกับ gabapentin เป็นยาใช้ทางกิน โดยเริ่มให้ก่อนนอนในขนาด
ต่ำๆ วันละสามครั้งต่อวัน โดยการเพิ่มขนาดอย่างช้า ๆ
ผลข้างเคียงจากการใช้ยาได้แก่ อาการวิงเวียน, ง่วงนอน, สับสน,
มีอาการบวมที่บริเวณเท้า และข้อเท้า, และน้ำหนักเพิ่มขึ้น
ในการใช้ยาตัวนี้ อาจก่อให้เกิดการเสพติดได้...
ท่านสามารถใช้ยา Pregabalin ร่วมกับ duloxetine หรือ TCAs
แต่ไม่ให้ใช้ร่วมกับ gabapentin
Anesthetic drugs:
ในกรณีความเจ็บปวดจากเบาหวานไม่สามารถบรรเทาลงด้วยยาตาม
ที่กล่าว ท่านอาจใช้แผ่น (patch) ยาชาวางแปะไว้ตรงตำแหน่งที่เจ็บ
ปวด ซึ่งบางรายอาจใช้แผ่นยาชาหลายแผ่น (18 ชม. ต่อวัน)
Alpha-lipoic acid (LAL):
Alpha-lipoic acid ยาต้านอนุมูลอิสระ (antioxidant medication)
มีผลการทดลองเป็นจำนวนมากแสดงให้เห็นว่า สารตัวนี้สามารถบรร
เทาอาการเจ็บปวดทีเกิดจากเบาหวานลงได้
ท่านอาจใช้ยาตัวนี้เมื่อยาตัวอื่นไม่ประสบผล...
Narcotics (opioids):
ยา Tramadol เป็นยาแก้ปวด ซึ่งใช้ทาง “กิน” สามารถควบคุมอาการ
ปวดจากเส้นประสาทได้ โดยให้ทุก 6 ชั่วโมงสำหรับรายที่มีอาการปวดรุนแรง
ซึ่งสามารถใช้ร่วมกับยาชนิดอื่นได้ เช่น pregabalin, duloxetine, Gabapentin
และ TCAs ผลข้างเคียงที่เกิดจากยากลุ่มนี้ คือ ง่วงนอน, วิงเวียน, และสับสน
<< PREV
P. 5 : Diabetic Neuropathy - Treatments
www.uptodate.com
ถือเป็นปัญหาสำคัญ ซึ่งยากต่อการรักษา และสามารถกระทบกับวิถีชีวิต
ของท่านได้อย่างมาก ความเจ้บปวดจากภาวะดังกล่าว มักจะมี่อาการเลวลง
ในตอนกลางคืน สามารถกระทบกับการหลับนอนได้
แต่ยังดีหน่อยตรงที่...
คนที่เป็นโรคเส้นประสาทถูกทำลายโดยเบาหวานนั้น มีเพียงส่วนน้อยเท่านั้น
ที่สำคัญ อาการปวดประสาทของบางคนสามารถหายได้เอง โดยเฉพาะใน
รายที่เลือดเป็นกรด - (diabetic ketoacidosis), น้ำหนักตัวลดลงอย่า’มาก,
หรือภายหลังการเปลี่ยนแปลงการควบคุมระดับน้ำตาล...
มียาหลายชนิด ถูกนำมาใช้ เพื่อรักษาภาวะโรคเส้นประสาทจากเบาหวาน
ซึ่งได้รับการรับรองจาก FDA ได้แก่ duloxetine และ pregabalin
นอกจากนั้น ยังมียากลุ่มอื่นอีก เช่น tricyclic medications (emitriptyline),
Gabapentin, tramadol, และ alpha-lipoic acid
Tricyclic antidepressants:
มียาหลายตัวในกลุ่มนี้ ซึ่งถูกนำมาใช้รักษาอาการปวดเรื้อรัง
เช่น amitriptyline, Nortriptyline, และ desipramine
ผลจากการทดลองภายในคนไข้แสดงให้เห็นว่า tricyclic antidepressant
Drugs จะใช้ได้ผลดีในคนที่มีความเจ็บปวดจากเบาหวาน โดยการใช้ยา
ในขนาดต่ำ กว่าที่ใช้รักษาคนทีตกอยู่ในภาวะซึมเศร้า (depression)
ยาในกลุ่มนี้มักจะใช้ในเวลาก่อนนอน โดยเริ่มในขนาดต่ำ
แล้วค่อยเพิ่มขนาดของยาขึ้นอย่างช้า ๆ ...
ที่ควรระวัง คือ ห้ามใช้ยากลุ่มนี้ในคนที่เป็นโรคหัวใจ
ยากลุ่ม Tricyclic medications สามารถใช้ร่วมกับยา gabapentin
และ pregabalin แต่ไม่ควรใช้ร่วมกับ duloxetine
ผลข้างเคียงต่างๆ ของยากลุ่ม Tricyclic antidepressants ได้แก่
ทำให้ปากแป้ง, ง่วงนอน, วิงเวียน, และท้องผูก
Duloxetine :
Duloxetine เป็นยากลุ่ม antidepressants ซึ่งมักมีผลดีในการบรรเทา
อาการเจ็บปวดประสาทจากเบาหวาน
ผลจากการทดลงอ (clinical trial) ในระยะสั้นๆ พบว่า
Duloxetine จะได้ผลดีกว่ายาหลอก (placebo) แต่ในระยะยาวพบว่า
ประสิทธิภาพของยา และความปลอดภัยยังไม่เป็นที่ยอมรับ
Duloxetine มักจะถูกใช้กินวันละครั้งหลังอาหาร ในบางราย
อาจเพิ่มเป็นสองครั้ง และไม่ควรใช้ยาตัวนี้ร่วมกับยากลุ่ม Tricyclic antidepressants
ผลข้างเคียงจากการใช้ยาตัวนี้ คือ อาการคลื่นไส้, ล่วงนอน, วิงเวียน,
ทำให้เบื่ออาหาร, และท้องผูก
Gabapentin :
Gabapenin เป็นยาที่ใช้รักษาอาการชัก (anti-seizure)
เป็นยารับประทาน รับวันละสามครั้ง
ผลข้างเคียงได้แก่ วิงเวียน และอาการสับสน
ยาตัวนี้สามารถใช้กับยา Tricyclic antidepressants หรือ duloxetine
มีคนไข้บางราย จะใช้ยา Pregabalin วันละสามครั้ง
เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดอาการปวดในตอนกลางคืน
Pregabalin:
Pregabalin เป็นยาต้านอาการชัก (anti-seizure medication) ลักษณะ
เหมือนกับ gabapentin เป็นยาใช้ทางกิน โดยเริ่มให้ก่อนนอนในขนาด
ต่ำๆ วันละสามครั้งต่อวัน โดยการเพิ่มขนาดอย่างช้า ๆ
ผลข้างเคียงจากการใช้ยาได้แก่ อาการวิงเวียน, ง่วงนอน, สับสน,
มีอาการบวมที่บริเวณเท้า และข้อเท้า, และน้ำหนักเพิ่มขึ้น
ในการใช้ยาตัวนี้ อาจก่อให้เกิดการเสพติดได้...
ท่านสามารถใช้ยา Pregabalin ร่วมกับ duloxetine หรือ TCAs
แต่ไม่ให้ใช้ร่วมกับ gabapentin
Anesthetic drugs:
ในกรณีความเจ็บปวดจากเบาหวานไม่สามารถบรรเทาลงด้วยยาตาม
ที่กล่าว ท่านอาจใช้แผ่น (patch) ยาชาวางแปะไว้ตรงตำแหน่งที่เจ็บ
ปวด ซึ่งบางรายอาจใช้แผ่นยาชาหลายแผ่น (18 ชม. ต่อวัน)
Alpha-lipoic acid (LAL):
Alpha-lipoic acid ยาต้านอนุมูลอิสระ (antioxidant medication)
มีผลการทดลองเป็นจำนวนมากแสดงให้เห็นว่า สารตัวนี้สามารถบรร
เทาอาการเจ็บปวดทีเกิดจากเบาหวานลงได้
ท่านอาจใช้ยาตัวนี้เมื่อยาตัวอื่นไม่ประสบผล...
Narcotics (opioids):
ยา Tramadol เป็นยาแก้ปวด ซึ่งใช้ทาง “กิน” สามารถควบคุมอาการ
ปวดจากเส้นประสาทได้ โดยให้ทุก 6 ชั่วโมงสำหรับรายที่มีอาการปวดรุนแรง
ซึ่งสามารถใช้ร่วมกับยาชนิดอื่นได้ เช่น pregabalin, duloxetine, Gabapentin
และ TCAs ผลข้างเคียงที่เกิดจากยากลุ่มนี้ คือ ง่วงนอน, วิงเวียน, และสับสน
<< PREV
P. 5 : Diabetic Neuropathy - Treatments
www.uptodate.com
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)