Dec. 17,2013
ในการป้องกันโรค HIV หลังการสัมผัส หรือที่เรียกว่า Post-exposure prophylaxis (PEP) คือการสั่งยาให้แก่คนที่มีโอกาสสัมผัสกับเชื้อดังกล่าว โดยคนไข้สามารถเข้าถึงการรักษาทางคลินิค หรือศูนย์สุขภาพ ซึ่งมีปรากฏในสวนต่างๆ ของโลก (ไม่ทุกแห่ง)
การป้องกันหลังการสัมผัสเชื้อโรค โดยเฉพาะในรายที่ถูกข่มขืน
หรือในรายที่สัมผัสกับเลือดปนเปื้อนเชื้อ HIV ด้วยการถูกเข็มทิ่มตำของ
บุคลการทางการแพทย์ ถือว่าเป็นเรื่องที่มีความสำคัญ ที่ควรได้รับการจัดการ
ให้ยาต้านไวรัสอย่างรีบด่วน เพื่อป้องกันไม่ให้การนติดเชื้อ...
How does post-exposure prophylaxis (PEP) work?
การรักษาหลังการสัมผัสเชื้อไวรัสเอสไวรัส (PEP) คือการให้ยาต้านเชื้อไวรัส
(antiretroviral drug treatment) แก่บัคคลที่สัมผัสกับเชื้อ...อย่างรีบด่วน
ซึงจะเริ่มให้ทันทีหลังจากมีการสัมผัสกับเชื้อไวรัส HIV โดยมี่เป้าหมายไป
เพื่อช่วยให้ระบบภูมิคุ้มกันมีโอกาสได้ป้องกันตัวเองไม่ให้เกิดโรค HIV ได้
ยาที่แพทย์สั้งให้แก่คนไข้ ซึ่งสัมผัสกับเชื้อเอสไอวี จะต้องให้ติดต่อกันเป็น
เวลา 28 วัน หรือหนึ่งเดือน ด้วยการให้ยาต้านไวรัส (antiretroviral drugs) สอง
ชนิด นั้นคือ ยา zidovudine และ Lamivudine
ในขณะที่ The World Health Organization (WHO) ได้แนะนำ
ให้ใช้ยา Zidovudine และ lamivudine สำหรับรักษาบุคคลที่ได้
ผ่านการสัมผัสเชื้อมาใหม่ ๆ รวมไปถึงการรักษาคนที่ติดเชื้อเป็น
ที่เรียบร้อยนั้น ...
ปรากฏว่า The British HIV Association ได้แนะนำให้บุคคลที่มีลักษณะอย่างเดียว
กัน ให้ใช้ต้านไวรัส HIV ด้วยการใช้ยาผสม ซึ่งมีชื่อว่า
Truvada (tenofovir และ emtricitabine) และ Kaletra (Lopinavir และ ritonavir)
ในขณะนี้เราจะเห็นว่า...
Post-exposure prophylaxis หรือการต้านไวรัส (antiretroviral medicine) กำลังได้
รับความนิยมกันมากขึ้น โดยมีเป้าหมายเพื่อป้องกัน รวมไปถึงการ
ให้รักษาด้วยยาดังกล่าว ทำหน้าที่เป็นการป้องกันโรคอีกด้วย
(Treatment as prevention)
<< PREV NEXT>> P. 3 : Effectiveness of PEP
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น