๋๊Jun , 2013
ในการรักษาคนไข้สูงอายุ
ซึ่งที่มาพบแพทย์ด้วยความเจ็บปวดจากโรคข้อเสื่อม(osteoarthritis)…
เพื่อให้เขาได้รับการรักษาที่เหมาะสม นอกจากการใช้ยารักษาแล้ว
คนไข้ยังจำเป็นต้องได้รับการรักษาทางกายภาพบำบัดอีกด้วย
ซึ่งที่มาพบแพทย์ด้วยความเจ็บปวดจากโรคข้อเสื่อม(osteoarthritis)…
เพื่อให้เขาได้รับการรักษาที่เหมาะสม นอกจากการใช้ยารักษาแล้ว
คนไข้ยังจำเป็นต้องได้รับการรักษาทางกายภาพบำบัดอีกด้วย
ในการรักษาด้วยยา...
มักจะเกี่ยวข้องกับการใช้
“ยาบรรเทาอาการปวด” (analgesic)
ซึ่งเราจะใช้ acetaminophen
(พาราเซทตามอล) เป็นอันดับแรก
โดยคาดหวังว่า ยาดังกล่าวสามารถบรรเทาอาการปวดได้
โดยคาดหวังว่า ยาดังกล่าวสามารถบรรเทาอาการปวดได้
แต่มันอาจไม่เป็นเช่นนั้น
โดยมันไม่สามารถทำให้คนไข้หายจาก
ความเจ็บปวดได้โดยสิ้นเชิง
ยาบรรเทาอาการปวด
(analgesic
medications)…
โดยทั่วไปแล้ว
มันเป็นยาที่มีความปลอดภัย และมีประสิทธิภาพในคนสูงวัย
ซึ่งได้รับผลดีพอๆ กับการใช้ยาดังกล่าวกับคนหนุ่ม-สาว
อย่างไรก็ตาม...
คนไข้
(สูงอายุ) สองคนจะตอบสนองต่อยาชนิดเดียวกันได้ต่างกัน
จึงเป็นหน้าที่ของผู้ให้การรักษาจะต้องทำการปรับขนาดของยาให้เหมาะสม
กับคนไข้แต่ละราย
กับคนไข้แต่ละราย
หลักการพื้นฐานของการรักษาภาวะเจ็บปวดเรื้อรัง
ซึ่งเกิดขึ้นในโรคข้อเสื่อม
(osteoarthritis)
คือการใช้ยาแก้ปวดตาม
ที่กำหนดให้ทุกวัน
เพื่อบรรเทาอาการปวดที่เกิดอย่างต่อเนื่อง
ยาที่เขาควรใช้
คือยาที่ออกฤทธิ์ได้นาน (Long acting medications)
ซึ่งคนไข้สามารถใช้
(กิน) วันละครั้ง หรือสองครั้ง เพื่อให้คนไข้สามารถปฏิบัติ
ตามคำสั่งของแพทย์ได้ (adherence)
ตามคำสั่งของแพทย์ได้ (adherence)
สำหรับยาที่ใช้เมื่อต้องการใช้...
ควรสงวนเอาไว้สำหรับรักษาอาการปวดที่เกิดขึ้นอย่างไม่ต่อเนื่อง
(intermittent)
หรือใช้เมื่ออาการเจ็บปวดมันกำเริบขึ้นเท่านั้น
โดยมีความเจ็บปวดของคนไข้เป็นเป้าหมาย ซึ่งเราจะต้องทำให้มันทุเลาลง,
ทำให้คนไข้สามารถทำงานได้ตามปกติ,
มีความรู้สึกดี,
และสามารถพักผ่อนได้
ในคนสูงอายุ...
เนื่องจากพวกเขามีแนวโน้มที่จะเกิดผลข้างเคียงจากยาแก้ปวดได้ง่าย
และเขายังมีความไว (sensitive) ต่อยาลดอาการปวดได้อีกด้วย
ดังนั้น
การใช้ยาบรรเทาอาการปวด จึงควรเริ่มต้นด้วยขนาดต่ำ ๆ เอาไว้ก่อน
มียกเว้นเฉพาะในกรณีของการใช้ยา
acetaminophen ซึ่งให้ในขนาดตามปกติ
เพื่อบรรเทาความเจ็บปวดในระดับพอประมาณได้ทันที
เพื่อบรรเทาความเจ็บปวดในระดับพอประมาณได้ทันที
Acetaminophen:
เป็นที่ทราบกันว่า...
เราสามารถใช้ยา
acetaminophen
ได้ถึง 4,000 mg ต่อวัน
เพื่อลดความเจ็บปวดจากข้ออักเสบที่มีความรุนแรงขนาดเล็กน้อย
ถึงปานกลาง
สำหรับคนที่ดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจำ
หรือมีโรคตับด้วย...
เขาควรลดขนาดของยาลงเหลือเพียง 2,500 mg ต่อวัน
(ยา
Tylenol
Long Acting® 650 mg ใช้ (กิน) ทุก 8 ชั่วโมง
อาจ
สะดวกสำหรับคนสูงอายุ)
Non-acetylated
Salicylates:
Non-acetlated
Salicylates เป็นยาที่ถูกนำมาใช้แทนยา NSAIDs
หรือ
acetaminophen ได้
ยาในกลุ่มนี้ได้แก่ Salsalate (Disalcid®)ขนาด 500
mg ใช้กิน
วันละ
3
– 4 ครั้งต่อวันสำหรับลดอาการปวดได้
Choline/Magnesium
trisaliclate (Trilisate®)…
เป็นยาอีกตัวที่อยู่ในกลุ่ม non-acetylate
salicylates ซึ่งทั้งยาเม็ด
และยาน้ำ...ขนาด
500
-1,500 mg ทุก 8 –
12 ชั่วโมง และสามารถ
เพิ่มขนาดได้ถึง 5,500 mg ต่อวัน
ยาในกลุ่มนี้มีผลกระทบ
(side
effects) ต่อกระเพาะอาหารได้น้อย และ
ไม่น่าจะมีผลต่อการทำงานของไต เมื่อเปรียบกับการใช้ยา NSAIDs
ไม่น่าจะมีผลต่อการทำงานของไต เมื่อเปรียบกับการใช้ยา NSAIDs
และแตกต่างจาก
aspirin และ NSAIDs โดยที่มันไม่ผลกระทบต่อการ
ทำงานของเกล็ดเลือด
(platelet) เลย
Non-acetylated
salicylates ...
นอกจากจะเป็นยาที่ปลอดภัย
และราคาถูกแล้ว และสามารถใช้
แทนยา
COX-2
NSAIDs ได้
Non-steroidal
Anti-inflammatory Drugs (NSAIDs)
ยาในกลุ่ม
NSAIDS
เช่น ibuprofen และ naproxen เป็นยาที่
ถูกนำไปใช้รักษาอาการปวดจากโรคไขข้อเสื่อม
ซึ่งมีอาการปวดขนาด
ปานกลาง ถึงรุนแรง
ปานกลาง ถึงรุนแรง
ในคนสูงอายุที่มีอาการปวดจากโรคข้อเสื่อม สามารถใช้ยาเพียง
50
% ของยากลุ่ม NSAIDs สามารถลดอาการปวดลงได้
ที่ต้องระวัง
คือ เมื่อใช้ยา NSAIDs ในคนเป็นโรคความดันโลหิต
สูง
หรือมีอาการบวม (edema)
จะต้องใช้ด้วยความระมัดระวังให้มาก
เพราะยาดังกล่าวจะทำให้ร่างกายกักเก็บน้ำ และ sodium ไว้ในร่างกาย
ซึ่งจะทำให้คนที่มีอาการบวม...บวมมากขึ้น และทำให้คนที่เป็นโรคความ
ดัีนโลหิตสูงมีระดับความดันสูงขึ้น
เพราะยาดังกล่าวจะทำให้ร่างกายกักเก็บน้ำ และ sodium ไว้ในร่างกาย
ซึ่งจะทำให้คนที่มีอาการบวม...บวมมากขึ้น และทำให้คนที่เป็นโรคความ
ดัีนโลหิตสูงมีระดับความดันสูงขึ้น
มีคนไข้บางคนจะได้รับผลประโยชน์จากการใช้ยา
NSAIDS บางชนิด
โดยการใช้ร่วมกับยาป้องกันไม่ให้เกิดมีเลือดออกในกระเพาะอาหาร
เช่น
misoprostol
หรอ proton pump inhibitor
ในคนสูงอายุ...
การใช้ยา
NSAIDs ควรใช้อย่างระมัดระวัง โดยเฉพาะยาขนาดสูง และ
การใช้ยาในระยะยาว เพื่อรักษาโรคเรื้อรัง...
เราควรหลีกเลี่ยง
เราควรหลีกเลี่ยง
ไม่ควรใช้ยาในคนที่มีประวัติมีแผลในกระเพาะอาหาร
หรือโรคไตทำงาน
บกพร่อง
(impaired
renal function)
หลีกเลี่ยงการใช้ยาสองชนิดในกลุ่ม
NSAIDs…
ให้ใช้ชนิดเดียวเท่านั้น
COX-2
Inhibitors
ยาในกลุ่ม
cyclo-oxygenase
(COX-2) inhibitors (celcoxib,rofecoxib)
เป็นยาที่ควรนำมาใช้ในคนสูงวัย
เพราะยาในกลุ่มนี้
มีผลกระทบต่อกระเพาะลำไส้ได้น้อย และยังมีผลกระทบต่อการจับตัวของ
เกล็ดเลือด (platelet aggregation)
เกล็ดเลือด (platelet aggregation)
ดังนั้น
ถ้าคนไข้รายใดที่กิน low dose aspirin สำหรับป้องกันไม่ให้เกิด
โรคหัวใจ และสมองขาดเลือด...ก็ควรกิน aspirin ต่อไป
โรคหัวใจ และสมองขาดเลือด...ก็ควรกิน aspirin ต่อไป
เมื่อมีการใช้ยา
COX-2
NSAIDs ร่วมกับ Aspirin เมื่อใดย่อมมีโอกาส
เกิดความเสี่ยงต่อการเกิดมีเลือดออกในกระเพาะ
ลำไส้ได้เหมือน ๆ
กับการใช้
NSAIDs
ตัวอื่น ๆ
สำหรบ
The
American Geriatrics Society…
เขาได้แนะนำให้ใช้ยา non-acetylated
salicylates แทนการใช้ยา
COX-2
NSAIDS เพราะเป็นยาที่ค่อนข้างปลอดภัย และมีราคาถูก
Tramadol
(Ultram®)…
เป็นยาบรรเทาอาการเจ็บปวด
ที่ออกฤทธิ์ที่ส่วนกลาง (centrally
Acting
analgesic) เราอาจใช้ยาตัวนี้เพียงอย่างเดียวสำหรับบรรเทาอาการปวด
หรืออาจใช้ร่วมกับยาacetaminophen หรือใช้ร่วมกับยากลุ่ม NSAIDs
(non-steroidal anti-inflammatory drugs )
หรืออาจใช้ร่วมกับยาacetaminophen หรือใช้ร่วมกับยากลุ่ม NSAIDs
(non-steroidal anti-inflammatory drugs )
เราควรเริ่มต้นใช้ยาตัวนี้ด้วยขนาดต่ำ ๆ 50
mg ทุก 4 – 6 ชั่วโมง
แล้วค่อยเพิ่มขนาดอย่างช้าๆ เพื่อหลีกเลี่ยงผลข้างเคียง
ซึ่งอาจเกิดขึ้นในคนสูงอายุได้ เช่น สลีมสะลือ หรืออาการครึ่งหลับครึ่งตื่น (drowsiness), และคลื่นไส้
แล้วค่อยเพิ่มขนาดอย่างช้าๆ เพื่อหลีกเลี่ยงผลข้างเคียง
ซึ่งอาจเกิดขึ้นในคนสูงอายุได้ เช่น สลีมสะลือ หรืออาการครึ่งหลับครึ่งตื่น (drowsiness), และคลื่นไส้
ขนาดสูงสุดของ
tramadol
คือ 300 mg ต่อวัน โดยแบ่งรับประทาน เป็น 2-3 ครั้ง
และควรลดขนาดลงเมื่อใชในคนที่เป็นโรคไต และโรคตับ
และควรลดขนาดลงเมื่อใชในคนที่เป็นโรคไต และโรคตับ
Opioid
ยาในกลุ่มนี้
(opiod
medications)…ได้แก่ oxycodone, morphine,
hydrocodone และ mu-receptor agonists
เป็นยาที่นำไปใช้ในคนไข้โรคข้อเสื่อม (osteoarthritis)
ซึ่งมีอาการเจ็บระดับปานกลาง ถึงระดับรุนแรง
โดยที่ยาชนิดอื่นไม่สามารถใช้ได้ผล
hydrocodone และ mu-receptor agonists
เป็นยาที่นำไปใช้ในคนไข้โรคข้อเสื่อม (osteoarthritis)
ซึ่งมีอาการเจ็บระดับปานกลาง ถึงระดับรุนแรง
โดยที่ยาชนิดอื่นไม่สามารถใช้ได้ผล
Glucosamine
สาร
glucosamine
sulfate เป็นสารที่มีในร่างกายของมนุษย์ตามธรรมชาติ
ซึ่งมีหน้าสร้างกระดูกอ่อน
(cartilage)
The
American Pain Society แนะนำให้คนผู้ใหญ่ทั้งหลายที่เป็นโรคไขข้อเสื่อม
ได้ใช้ยาดังกล่าวในขนาด 1500 mg ต่อวัน
ได้ใช้ยาดังกล่าวในขนาด 1500 mg ต่อวัน
มีผลการศึกษาเปรียบเทียบระหว่างคนกินยา
glucosamine vs การกินยาหลอก
(placebo)
เป็นเวลา 3 ปี ปรากฏว่า...
การใช้ยา
glucosamine…จะลดความเจ็บปวด
และทำให้การทำงานของข้อ
(physical function) ดีขึ้นประมาณ 20 – 25 %
เมื่อเปรียบเทียบกับการกินยาหลอก (placebo)
(physical function) ดีขึ้นประมาณ 20 – 25 %
เมื่อเปรียบเทียบกับการกินยาหลอก (placebo)
ผลการตรวจภาพเอกซเรย์ของไขข้อ
พบว่า กระดูกอ่อนอยู่ในสภาพคงที่
ส่วนกลุ่มที่กินยาหลอก...พบว่ากระดูกอ่อนเกิดฝ่อตัวลง
ซึ่งชี้ให้เห็นว่า
โรคข้อเสื่อมจะมีอาการเลวลงหลังจากกินยาหลอก
Chondroitin
Chondroitin
sulfate…
เป็นอาหารเสริมชนิดหนึ่ง
ซึ่งอาจใช้กระตุ้นการสร้างกระดูกอ่อน
ผลของการศึกษา
ชี้้ให้เห็นว่า มีคนเพียงจำนวนน้อยที่ได้รับการทดลองใช้สาร
ดังกล่าว โดยผลที่ได้ ปรากฏว่า สารดังกล่าวสามารถบรรเทาอาการปวด
และการทำงานของข้อได้ดีขึ้น
ดังกล่าว โดยผลที่ได้ ปรากฏว่า สารดังกล่าวสามารถบรรเทาอาการปวด
และการทำงานของข้อได้ดีขึ้น
ที่ควรทราบ...
มียาที่เป็นส่วนผสมระหว่าง
glucosamine
และ chonroitin มีขายในท้องตลาด
แต่ปรากฏว่า
ยาดังกล่าวไม่เหนือกว่าการใช้ยาที่มีส่วนประกอบเพียงอย่างเดียว
(glucosamine
หรือ choondroitin ตัวใดตัวหนึ่ง)
<<
Prev. Next >> Case Discussion