Jun 20,2013
เป้าหมายในการรักษาเบาหวาน
ADA
ได้แนะนำเป้า (goal) โดยให้ A1C มีค่าต่ำกว่า < 6.5 %, ระดับ
น้ำตาลในน้ำเลือด
(fasting
plasma glucose) < 110 mg/dL
และระดับน้ำตาลหลังอาหาร
2
ชั่วโมง มีค่ำต่ำกว่า <140 mg/dL
ระดับน้ำตาลในน้ำเลือด
(plasma)
จะมีค่าสูงกว่าระดับน้ำตาลที่อยู่
ในเลือด
(blood)
ประมาณ 10 – 15 %
และเป้าหมายทางระดับการเปลี่ยนแปลงทางเคมี (metabolic
goal) จะต้อง
ขึ้นกับคนไข้แต่ละคน
ยกตัวอย่าง ในคนไข้สูงอายุที่มีโรคต่าง
ๆ หรือ
มีความบกพร่องในความคิด หรือความบกพร่องในการทำงานตามปกติ
ADA
ได้ให้คำแนะนำว่า ควรตั้งเป้า glycemic goal- A1C
ให้สูงเอาไว้
A1C
จะสะท้อนให้เห็นถึงระดับน้ำตาลในเลือดโดยเฉลี่ยในระยะ 2-3
เดือนที่ผ่านมา....
§ A1C ระดับ
6 % จะมีค่าเทียบเท่าน้ำตาลในเลือด 120 mg/dL
§ A1C ระดับ
7 % จะมีค่าเทียบเท่าน้ำตาลกลูโกส 150 mg/dL
§ A1C ระดับ
8 % จะมีค่าเทียบเท่าน้ำตาลกลูโกส 180 mg/dL
จากข้อมูลดังกล่าว
บอกให้ทราบว่า A1C
ทุก 1 % ที่มีค่าเพิ่มขึ้น โดย
ทำให้มีน้ำตาลในเลือดสูงขึ้น
30
mg/dL
ถ้าระดับของ
A1C
> 8 %...
ADA
ได้แนะนำให้เพิ่มกรรมวิธีการรักษา(lifestyle intervention)
เพื่อทำให้ระดับน้ำตาลดีขึ้น
ซึ่งได้รับการสนับสนุนโดย
UKPDS
(the united Kingdom Prospective Diabetes Study)
เพราะเห็นว่า
การควบคุมระดับน้ำตาลให้ลดสู่เป้าหมายได้
สามารถลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง
ๆ ภายในระยะ 10
ปี
ทุก 1 % ที่เราสามารถลด A1C ลงได้ เราสามารถลดภาวะแทรกซ้อน
ไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน
(microvascular
complication) ได้ถึง 35 %
ตาราง
3.
American Diabetes Association Standards of Care
Procedure
|
Frequency
|
Goal
|
A1C
|
2-4
times/year (twice a year if treatment goals are met;
otherwise
quarterly)
|
<7%
|
Lipids
|
yearly
|
LDL-C
≤100 mg/dl
TG
<150 mg/dl
HDL-C
≥45 mg/dl in men
HDL-C
≥55 mg/dl in women
|
Urine
albumin
|
yearly
|
Negative
(normal is < 30 mg albumin/gm creatinine)
|
Blood
Pressure
|
each
medical visit
|
<130/80
mm Hg
|
Dilated
eye exam
|
yearly
|
no
retinopathy
|
Influenza
vaccine
|
yearly
|
no
infection
|
Pneumococcal
vaccine
|
at
least once1
|
no
infection
|
Foot
examination
|
yearly
(comprehensive); each medical visit (visual)
|
no
ulcerations; those at risk should self-inspect feet daily
|
Dental
exam
|
twice
yearly
|
no
periodontal disease
detect
hypoglycemia; include in self-management program
|
Self-Monitoring
of Blood
Glucose
(SMBG)
|
individualized
|
detect
hypoglycemia; include in self-management program
|
MYTHS
& FACTS
MYTH: คนที่รักษาด้วย insulin เท่านั้นที่ต้องตรวจหาระดับน้ำตาลด้วยตนเอง
FACT: คนเป็นโรคเบาหวาน
ซึ่งสามารถตรวจเช็คระดับน้าลได้ด้วยตนเอง
สามารถรักษาโรคเบาหวานของเขาได้ดีกว่า โดยเฉพาะในคนที่กินยาเม็ด
ลดระดับน้ำตาลเช่น
sufonylurea,
repaglinide, และ nateglinide
สมควรทำการตรวจเช็คดูระดับน้ำตาลด้วยตนเอง
ภาวะน้ำตาลในกระแสเลือดสูง
(hyperglycemia)
ในคนสูงอายอาจมีอาการน้อย
ที่เป็นเช่นนี้
เป็นเพราะระดับกั้นของไต (renal threshold) ต่อน้ำตาล
ไม่ให้ทะลักออกไปกับปัสสาวะจะสูงขึ้น
เป็นเหตุให้ไม่มีน้ำตาลในนำปัสสาวะ
โดยปกติระดับ
“กั้นของไต” (renal
threshold) ต่อระดับน้ำตาลไม่ให้ทะลัก
ออกไปทางปัสสาวะ (glycosuria)
จะมีค่าที่ 180 mg/dL แต่ในคนสูงอายุ
เราอาจพบว่าระดับกั้นของไตต่อระดับน้ำตาลในเลือด
อาจเพิ่มเป็น 270
mg/dL
ซึ่งนั่นหมายความว่า คนสูงอายุ ที่เป็นโรคเบาหวานจะมีน้ำตาล
ล้นออกมาทางปัสสาวะได้ก็ต่อเมื่อ
ระดับน้ำตาลในเลือด
มีค่าสูงกว่า 270 mg/dL เท่านั้น
<< Prev.
Next >>ทางเลือกในการรักษาโรคเบาหวาน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น