Jun 2013
การใช้ยาในคนสูงอายุ...
ผู้ให้การรักษาจะต้องมั่นใจว่า
ยาที่ให้แก่คนสูงวัยนั้นจำเป็นต้องปลอดภัย
ไร้อันตราย และมีประสิทธิภาพต่อการรักษา
,มีหลักการพื้นฐาน
4
ประการ จะทำให้ผลการรักษาดีขึ้น:
§ หลีกการใช้ยาที่ไม่ปลอดภัย
§ ให้รู้ว่า เมื่อยาที่ใช้ทำให้คนไข้เลวลง
ทำให้คนไข้ไม่สามารถ
ทำงานในชีวิตประจำวันได้ตามปกติ
§ อาศัยเวชปฏิบัติอิงหลักฐาน
มาพิจารณาเลือกใช้ยาอันดับแรก
§ (first-line drug) ให้แก่คนไข้
§ ปรับการใช้ยาให้เหมาะกับคนไขแต่ละคน
และพิจารณาโรคที่เกิด
ร่วม ตลอดรวมถึงยาที่ใช้รักษา
ร่วม ตลอดรวมถึงยาที่ใช้รักษา
Omnibus
Budget Reconciliation Act (OBRA 87) ได้วางรูปแบบ
การใช้ยาในคนสูงอายุที่อ่อนแอ
(ขี้โรค)ให้ดีขึ้น
ซึ่งจะมีประโยชน์ต่อการประเมินการใช้ยาในคนสูงวัยในแต่ละคน
โดยแม่แบบที่กำหนดขึ้นนั้น จะช่วยแก้ปัญหาหลายอย่างที่เกิดขึ้นกับคนสูงอายุ
และสามารถช่วยปรับปรุงการรักษาคนสูงอายุให้ดีขึ้น
OBRA
87 สนับสนุนให้ใช้ยาได้ก็ต่อเมื่อมีข้อชี้บ่งให้ใช้, มีการติดตาม
ตรวจสอบประสิทธิภาพ (efficacy) และผลเสีย (side effects) ของยา,
พิจารณาผลของยาที่กระทบต่อสภาพความเป็นอยู่ทีดีของคนสุขอายุ
OBRA
87 ได้ปรับปรุงแผนการใช้ยาของคนไข้ในบ้าน (เรือน)พักคนชราที่อยู่
ภายไต้ความรับผิดชอบของรัฐบาล (สหรัฐฯ) มานานหลายทศวรรษ
โดยในครั้งแรก เขาจะมุ่งความสนใจไปที่สาร ซึ่งออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท
ที่มีการใช้ยามากเกินไป
การมีนโยบาย เพื่อควบคุมการใช้สารเคมีดังกล่าว...
ก็เพื่อหลีกเลี่ยงพฤติกรรมอันน่ารำคาญของคนสูงอายุ
ที่อยู่ในบ้านพักคนชรา
โดยไม่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์รองรับ
OBRA
87 ได้กำหนดข้อบั้งคับเอาไว้ว่า...
สิ่งอำนวยความสะดวกในบ้านพักคนชรา
จะต้องประกอบด้วยความมี
มาตรฐานสูงให้คนสูงอายุ, มีมาตรฐานทางด้านการแพทย์, และสภาพแวดล้อม
ทางด้านจิตใจ... เพื่อความเป็นอยู่ที่ดีสำหรับผู้สูงอายุ
เภสัชกรจะทำหน้าที่ตรวจสอบการใช้ยาของคนพักในเรือนพักคนชราเป็นประจำ
ทุกเดือน
และให้คำแนะนำการใช้ให้ถูกต้อง หรือมีการเฝ้าสังเกตการณ์
ดูผลของการรักษาคนชราอย่างใกล้ชิด
เภสัชกรจะต้องให้ความมั่นใจว่า...
คนชราทั้งหลายที่อยู่ในบ้านพักคนชรา จะได้รับยาที่เหมาะสมสำหรับพวกเขา
เท่านั้น
คำว่า
“ยาที่เหมาะสม” หมายถึงไม่มีการใช้ยาซ้ำซ้อน, หรือใช่ยาไม่เกินขนาด
(excessive
dose), ไม่มีการใช้ยานานเกินความจำเป็น, ได้รับการตรวจ
สอบอยางต่อเนื่อง,
หรือใช้ยาโดยมีข้อบ่งชี้ที่เพียงพอ, และไม่เกิดผล
ไม่พึงประสงค์
(side
effects)
การวางกฏเกณฑ์การใช้ยาที่ออกฤทธิ์ทางจิตประสาทโดย
OBRA
87
เพื่อให้แน่ใจว่า คนที่ได้รับการใช้ยาดังกล่าว เพื่อให้มีการเลิกใช้ดังกล่าวเสีย
หรือ พยายามลดขนาดของยาให้น้อยลง
ผลจากการศึกษา
ด้วยการตรวจสอบผลกระทบจากการทำงานของเภสัชกร
ซึ่งทำงานกับคนสงอายุที่อยู่นอกสถานที่ให้การรักษาพบว่า
เภสัชกรสามารถระบุ และแก้ปัญหาต่างๆ
ที่เกิดจากการใช้ยา,
สามารถลดการ
ใช้ยาที่ไม่จำเป็นลง, ลดผลอันไม่พึงประสงค์ที่เกิดจากยา
(side
effects),
และช่วยลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็นลง
โดยรวม เราสามารถพูดได้เต็มปากว่า...
เภสัชกรจะช่วยให้คนไข้ได้รับยาที่ถูกต้อง
ปลอดภัย และช่วยทำให้
คนไข้ปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์
หลีกเลี่ยงจากการใช้ยาที่ไม่ปลอดภัย
(Avoid Unsafe
Medications)
ยาต่าง
ๆ ที่ใช้ในคนสูงอายุ...
มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้่คนไข้หายจากโรค,ทำให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น ตลอดรวมไป
ถึงการทำให้ชีวิตของเขายืนยาวออกไปอีก
ยกตัวอย่าง..
คนเป็นโรคความดันโลหิตสูงมาก
ๆ โดยสูงเฉพาะตัวบน (systolic
hypertension)
ส่วนความดันตัวล่าง
(diastolic
pressure) อยู่ในระดับปกติ
เรียกว่า isolated systolic hypertension
ซึ่งมักจะเกิดขึ้นในคนสูงอายุเป็นส่วนใหญ่
ในอดิต
เราเคยคิดว่า ในคนสูงอายุจำเป็นต้องให้ระดับ systolic Blood
pressure
สูงเอาไว้แหละดี เพื่อให้สมอง ซึ่งเป็นอวัยวะที่สำคัญได้รับเลือดไปหล่อเลี้ยง
ได้เพียงพอ... ซึ่งทำใ้แพทย์ในสมัยนั้นชอยพูดกับคนสูงอายุที่มีความดันโลหิตสูง
เฉพาะตัวบน (isolated systolic hypertension) ว่า
"เป็นโรคปกติ...ไม่มีปัญหาอะไร"
มาในปัจจุบัน...
เราจะเห็นว่า ความคิดเห็นเรื่องกังกล่าว เป็นเรื่องที่ไม่ถูกต้อง เพราะมันสามารถทำ
ให้เกิดผลเสียกับคนสูงอายุที่มี isolate systolic blood pressure ได้
เมื่อได้มีการประเมินผลที่เกิดจากการรักษาคนสูงอายุ ที่มี isolated systolic blood pressure สูง ด้วยการให้ยาลดความดันโลหิต ปรากฏว่า
คนสูงอายุได้ประโยชน์จาก
การักษาดังกล่าว
ในปัจจุบัน...
ได้มีการศึกษาจำนวนมากมาย
แสดงให้เห็นว่า
การรักษาความดันโลหิตสูง
โดยเฉพาะ systolic
hypertension ด้วยยาขับปัสสาวะ
เช่น thiazide
หรือ thiazide-like diuretics (e.g.
hydrochorothiazide หรือ chlorthalidone), beta blockers (เช่น metoprolol, atenolol), และ
dihydropyridine
calcium Channel
blockers ( เช่น netrendipine)
สามารถลดการสูญเสียชีวิต
, สมองขาดเลือด , หัวใจล้มเหลว,
และกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดตาย ลงได้ือย่างมีนัยสำคัญ
โดยทั่วไปแล้ว ยาเหล่านี้...จะไม่ค่อยมีปัญหาสำหรับคนไข้สูงอายุ โดยเขา
สามารถทนต่อการใช้ยากลุ่มดังกล่าวได้ดี
แต่ก็มีคนสูงอายุบางคน
มีความเสี่ยงต่อการเกิดอาการแพ้ยาได้
และในปี
1997
Beers ได้พิมพ์ข้อบ่งชี้ที่สำคัญ เพื่อช่วยให้หลีกเลี่ยง
การใช้ยาในคนสูงวัย
(ดูตารางที่ 1)
มียาหลายตัวที่ทำให้เกิดผลทาง
anticholinergic
side effects
เช่น
ทำให้ง่วง, เกิดความสับสน, ท้องผูก, ปากแห้ง, ตาพล่ามัว, ปัสสาวะลำบาก
และหัวใจเต้นเร็ว และมีกลุ่มยาบางตัว
เมื่อกินเข้าไปแล้ว จะทำให้เกิดพิษขึ้นได้...
ตาราง
1. ยาที่ควรหลีกเลี่ยง...ไม่ควรใช้ในคนสูงอายุ
(Drugs to be Avoided in the
Elderly)
Therapeutic
Cathegory
|
Examples
|
Reason(s)
to Avoid
|
Tricyclic
Antidepressants
|
Amitriptyline
(Elavil®), Doxepin (Sinequan®)
|
Significant
anticholinergic effects
|
Gastrointestinal
antispasmodic
drugs
|
Dicyclomine
(Bentyl®), Hyoscyamine (Levsin®),
Propantheline
(Pro-Banthine®), Belladonna alkaloids
(Donnatal®),
Clidinium-chlordiazepoxide (Librax®)
|
Significant
anticholinergic effects
|
Antidiabetic
drugs
|
Chlorpropramide
(Diabinese®)
|
Prolonged
and serious low blood sugar and a syndrome
of
inappropriate antidiuretic hormone
|
Antihypertensive
Drugs
|
Methyldopa
(Aldomet®)
|
May
lower the heart rate and exacerbate depression
|
Antiarrythmic
Drugs
|
Disopyramide
(Norpace®)
|
May
induce heart failure and produce anticholinergic
side
effects
|
Benzodiazepines
|
Flurazepam
(Dalmane®), Chlordiazepoxide (Librium®),
Diazepam
(Valium®)
|
Prolonged
sedation and increased risk of falls and
fractures
|
Narcotic
analgesics
|
Pentazocine
(Talwin®)
|
Causes
more confusion and hallucinations than other narcotic agents and does not
have pure pain blocking effects
|
Meperidine
(Demerol®)
|
Must
be given frequently to attain
pain
control; can cause
central
nervous system stimulation and seizures in
individuals
with reduced kidney function
|
|
Barbiturates
All
|
All,
except phenobarbital
|
Highly
addictive and cause more side effects than other
sedative
or hypnotic drugs
|
Cardiac
Drugs
|
Digoxin
for heart failure (doses greater than 0.125mg
daily)
|
Kidney
clearance of the drug may be decreased, increasing potential for toxicity
|
Antiplatelet
drugs
|
Ticlopidine
(Ticlid®),
|
More
toxic than other alternatives such as aspirin
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น