May 30, 2013
Continued…
Continued…
เป็นที่ทราบกันมานานแล้วว่า...
แป๊ะก๊วย หรือ Gingko biloba เป็นสมุนชนิดหนึ่งที่ชาวจีน เขาใช้บำรุงสมอง
และถูกใช้เป็นยารักษาโรคไข้ที่เป็นโรค “อัลไซเมอร”
และถูกใช้เป็นยารักษาโรคไข้ที่เป็นโรค “อัลไซเมอร”
ซึ่งมีแพทย์บางท่านออกใบสั่งให้แก่คนไข้เอง และ คนไข้สามารถหาซื้อ
มาใช้ในรูปของอาหารเสริม
มาใช้ในรูปของอาหารเสริม
มีคนถามว่า
ในแป๊ะก๊วย มันมีสารอะไรหรือ ?
ในขณะนี้
นักวิจัยกำลังศึกษาสารที่สกัดจากสมุนไพรดังกล่าว มีชื่อว่า “Egb 761”
ซึ่งมีผลงานจากการศึกษาหลายสำนัก
กล่าวว่า
มันมีประโยชน์
แต่ไม่เป็นที่ปรากฏต่อแพทย์ทั่วไป
ในสมัยก่อนเขาให้สารสมุนไพรตัวนี้ด้วยขนาด
120
mg ต่อวัน
โดยแบ่งเป็นหลายครั้ง
ในขณะนี้
ได้มีการทดลองโดยการให้ gingko biloba ขนาด 240 mg ต่อวัน....
จากการทดลองหลายแห่ง ได้ชี้ให้เห็นว่า
จากการทดลองหลายแห่ง ได้ชี้ให้เห็นว่า
มันมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ
(potent
antioxidant) และยังมีฤทธิ์ต่อต้าน
การทำงานของเกล็ดเลือด (antiplatelet
activity)
ซึ่งอาจมีปฏิกิริยากับยาต้านการทำงานของเกล็ดเลือดได้
เช่น aspirin, Clopidogrel,
ticlopidine หรือ dipyridamole
แต่สำหรับคนที่รับยา
warfarin…
สามารถรับประทาน
gingko
biloba ได้ โดยไม่มีปัญหาอะไร
เคยมีรายงานเอาไว้ว่า...
การรับประทาน
gingko
biloba ทำให้เลือดออกในสมอง และลูกตา
จากการศึกษาในในคนไข้ที่ได้รับยา
warfarin
คงที่แล้ว
ปรากฏว่า
เมื่อรับประทาน gingko
biloba ด้วย จะไม่เพิ่มฤทธิ์ยาต่อต้าน
การจับตัวของเม็ดเลือด
(anticoagulant
effect)
แต่เมื่อมีการให้ gingko biloba ร่วมกับ warfarin เมื่อใด...แม้ว่าจะมีคนรายงานว่า
สามารถใช้ร่วมกันได้ก็ตาม เราก็ควรตรวจเช็คดูคนไข้อย่างใกล้ชิด
สามารถใช้ร่วมกันได้ก็ตาม เราก็ควรตรวจเช็คดูคนไข้อย่างใกล้ชิด
มีคนไข้ที่เป็นโรค
“อัลไซเมอร์” จำนวนไม่น้อยที่มีปัญหาเรื่องพฤติกรรมเบี่ยงเบนไป
เป็นต้นว่า เกิดมีอาการประสาทหลอน (hallucinations)(มักเป็นทางภาพ),
อาการหลงผิด (delusion), อาการหวาดระแวง(paranoia), ซึมเศร้า (depression), ก้าวร้าว ซึ่งมีทั้งร่างกาย และวาจา (aggressive behavior), พฤติกรรมผิดปกติทางเพศ (inappropriate Sexual behavior), อยู่ไม่สุข ( restless)
และกรีดร้องโวยวาย (screaming)
อาการหลงผิด (delusion), อาการหวาดระแวง(paranoia), ซึมเศร้า (depression), ก้าวร้าว ซึ่งมีทั้งร่างกาย และวาจา (aggressive behavior), พฤติกรรมผิดปกติทางเพศ (inappropriate Sexual behavior), อยู่ไม่สุข ( restless)
และกรีดร้องโวยวาย (screaming)
เป็นหน้าที่ของผู้ให้การดูแลรักษาจะต้องเป็นคนประเมินว่า
พฤติกรรมที่เกิดขึ้นนั้น
มีอะไรเป็นตัวกระตุ้นให้เกิด ตลอดรวมไปถึง
สภาพแวดล้อมที่อยู่รอบ
ๆ ตัวของเขาด้วย
มีปัญหาบางอย่าง
เช่น คนไข้ไม่ชอบอยู่นิ่ง ชอบเดินไปในที่ต่าง ๆอย่างไร้จุดหมาย
(wandering), อยู่ไม่สุข (restlessness), แต่งกายไม่เรียบร้อย,
พฤติกรรมก้าวร้าว,
มีความกลัว และกังวล (agitation)
มีความกลัว และกังวล (agitation)
ซึ่งอาการเหล่านี้
อาจเป็นน้อยถึงรุนแรงพอประมาณ
ในการรักษาคนไข้พวกนี้
วิธีที่ดีที่สุด คือการการดูแลอย่างใกล้ชิด
โดยไม่ต้องให้ยาแต่อย่างใด
(non-drug
intervention)
ก่อนให้การรักษาด้วยยา...
คนไข้ควรได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด
โดยไม่ต้องให้ยาก่อน
และหากจำเป็นต้องให้ยารักษา คนไข้ควรได้รับการประเมินทั้งร่างกาย,
จิตใจ, และสภาพแวดล้อม ก่อนที่จะลงมือให้การรักษาด้วยยา
อย่าลืม...
ยามักจะไม่ใช้สิ่งแรกที่ต้องเลือก เพื่อใช้รักษาคนไข้ “อัลไซเมอร์”
เพราะแม้ว่าผลของยาจะมีประสิทธิภาพก็ตาม
มันไม่ได้ทำให้พฤติกรรม
ที่เบี่ยงเบนหายไป
หรืออาจทำให้ลดลงไปประมาณ
50
% เท่านั้นเอง
สำหรับอาการทางประสาทหลอน,
จิตหวาดระแวง, หลงผิด, จิตไม่สงบ
และกังวลใจ
ร่วมกับอาการก้าวร้าว มักจะตอบสนองต่อการใช้ยากลุ่ม
รักษาโรคจิต
(psychotherapeutic
agents)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น