Jun 22,2013
continued
continued
โรคเบาหวาน (diabetes) จะเกิดขึ้นกับคนสูงวัย
ที่มีอายุมากกว่า 65
ถึง 20 %
ผลจากการศึกษาของ The Diabetes Control and Complicatio Trial
(DCCT) พบว่า การรักษาโรคเบาหวานด้วยการลดระดับน้ำตาลให้ลงสู่
ระดับปกติ (tight glucose control) ในคนไข้อายุระหว่าง
13 – 39 ปี
ที่เป็นเบาหวานประเภท 1 (T1DM) พบว่า
ภาวะแทรกซ้อนจากเส้นเลือด
ระดับ macro (macrovascular complication) จะลดลงอย่างมีนัยที่
สำคัญ
และผลที่ได้จาก The United Kingdom Prospective Diabetes Study
(UKPDS) ได้ชี้ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่าง
tight glycemicControl
(การควบคุมให้ระดับน้ำตาลลดลงสู่ระดับปกติ) กับ ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น
กับเส้นเลือดขนาดเล็ก (microvascular complications)ในคนเป็นเบาหวานประเภทสอง
(การควบคุมให้ระดับน้ำตาลลดลงสู่ระดับปกติ) กับ ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น
กับเส้นเลือดขนาดเล็ก (microvascular complications)ในคนเป็นเบาหวานประเภทสอง
ในปัจจุบัน เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปแล้วว่า...
ในการรักษาโรคเบาหวานนั้น เราจะต้องควบคุมระดับน้ำตาลให้ลดลงสู่
ระดับปกติ (tight glycemic control) ให้ได้
อย่างไรก็ตาม แม้ว่าการศึกษาโรคเบาหวานประเภทสอง (T2DM) ในคน
สูงอายุยังอยู่ในระหว่างการศึกษาติดตามผลก็ตามที ปรากฏว่า...
มีหลักฐานโดยอ้อม (indirect evidence) ได้สนับสนุนความคิดที่ว่า “tight glycemic control”
ในคนสูงอายุ อาจ “ลด” หรือ “ป้องกัน”ไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนทั้ง microvascular
และ macrovascular ในคนไข้กลุ่มดังกล่าวได้
มีหลักฐานโดยอ้อม (indirect evidence) ได้สนับสนุนความคิดที่ว่า “tight glycemic control”
ในคนสูงอายุ อาจ “ลด” หรือ “ป้องกัน”ไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนทั้ง microvascular
และ macrovascular ในคนไข้กลุ่มดังกล่าวได้
ผลจากการศึกษา พบว่า
การรักษาเบาหวานด้วยวิธีเข้มข้น (tight glycemic
Control) ในคนไข้ที่เกิดมีกล้ามเนื้อหัวใจถูกทำลาย
(MI) จะสัมพันธ์กับความ
ตายในระยะยาว (Long term Mortality)
ที่น่ากังวลที่สุดในการลดระดับน้ำตาลของคนสูงวัยที่เป็นโรคเบาหวาน
ด้วยวิธี tight glycemic control คือ ภาวะน้ำตาลในเลือดลดต่ำ(hypoglycemia)
โดยคนสูงอายุไม่ค่อยจะตรหนักรู้ว่า ตนเองเกิดมีภาวะดังกล่าว
โดยคนสูงอายุไม่ค่อยจะตรหนักรู้ว่า ตนเองเกิดมีภาวะดังกล่าว
ในการรักษาโรคเบาหวานในคนไข้ทุกราย...
มีความจริงอย่างหนึ่ง ที่พวกเราต่างรู้กันดี นั้นคือ ทุกอย่างมีดี และเสีย
ซึ่งเราจำเป็นต้องเลือกให้ได้ว่า จะเลือก
ทำอย่างไรจึงจะได้ประโยชน์สูงสุด
ยกตัวอย่าง
วิธีการลดน้ำตาลด้วยรูปแบบที่เข็มข้น เพื่อให้ระดับน้ำตาลลดลงสูระดับปกติ
ประโยชน์ที่ได้ คือลดภาวะแทรกซ้อนทั้งระดับ microvascular และ Macrovascular…
ส่วนผลเสียที่พึงเกิด คือมีความเสี่ยงต่อการทำให้เกิดภาวะน้ำตาลลดต่ำ hypoglycemia
ประโยชน์ที่ได้ คือลดภาวะแทรกซ้อนทั้งระดับ microvascular และ Macrovascular…
ส่วนผลเสียที่พึงเกิด คือมีความเสี่ยงต่อการทำให้เกิดภาวะน้ำตาลลดต่ำ hypoglycemia
ซึ่งมีสูงกว่าประโยชน์ที่พึงได้ โดยเฉพาะในคนสูงอายุ
เมื่อไม่นานมานี้...
ปรากฏว่า การควบคุมระดับน้ำตาลในคนสูงอายุ
เขานิยมที่จะทำการควบคุม
ด้วยวิธีที่ไม่เคร่งคัดนัก (loose glycemic control) เพราะเหตุผลสองประการ
ข้อแรก: คนสูงอายุจะมีความไวต่อยาเม็ดลดน้ำตาล
ทำให้มีแนวโน้มที่จะเกิด
ภาวะ hypoglycemia
ข้อสอง: คนสูงอายุจะไม่ค่อยจะรู้ว่า
ตนเองตกอยู่ในภาวะอันตรายจากการเกิด
Hypoglycemia ซึ่งอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้
อย่างไรก็ตาม จากรายงานของ UKPDS ได้ราบงานไว้ว่า...
ในคนเป็นเบาหวานประเภทสอง การเกิดภาวะน้ำตาลลดต่ำอย่างรุนแรง
(severe hypoglycemia) เกิดได้น้อยมาก
ในขณะนี้ ได้มีการใช้ยาลดระดับน้ำตาลตัวใหม่ๆ ซึ่งไม่ค่อยก่อให้เกิดภาวะ Hypoglycemia
ดังนั้นจึงถึงเวลาแล้ว ที่เราจะหันมาพิจาณาใช้วิธีควบคุมระดับน้ำตาลอย่างเข็มข้น
(tight glycemic control) ในคนไข้สูงอายุ ที่เป็นโรคเบาหวานกัน
ในการพิจารณาว่า...
เราจะใช้วิธีควบคุมระดับน้ำตาลอย่างเข็มข้นกับคนไข้สูงอายุหรือไม่
เราต้องนำเอาโรคต่างๆ
ซึ่งเกิดร่วมกับโรคเบาหวานมาพิจารณาด้วย
ซึ่งเกิดร่วมกับโรคเบาหวานมาพิจารณาด้วย
ยกตัวอย่างเช่น โรคของอวัยวะ ที่อยู่ในระยะสุดท้าย,
มะเร็ง, หรือโรคสมองเสื่อม
ในกรณีเหล่านี้ อาจไม่เหมาะที่จะใช้วิธี tight glycemic control
อย่างไรก็ตาม
คนสูงอายุที่เป็นโรคเบาหวาน ไม่มีโรคสำคัญอย่างอื่นเกิดร่วม
สี่งที่ควรพิจารณา คือ “การคาดหมายการคงชีพ” (Life expectancy)
สี่งที่ควรพิจารณา คือ “การคาดหมายการคงชีพ” (Life expectancy)
และคุณภาพชีวิตของคนไข้ (quality of life)
ความคาดหมายการคงชีพ (life expectancy) ของสตรีอายุ 65
สามารถมี
ชีวิตยืนยาวต่อได้อีก 19 ปี โดยเฉลี่ย และในกรณีเช่นนี้
การควบคุมระดับน้ำตาลด้วยวิธีเข็มข้น
(tight glycemic control) ย่อมเป็นเรื่องที่เหมาะสม
(tight glycemic control) ย่อมเป็นเรื่องที่เหมาะสม
ซึ่งจะทำให้ภาวะแทรกซ้อนจากเส้นเลือดถูกทำลายลดลงได้
พร้อม ๆ กับทำให้คุณภาพชีวิตของคนสูงอายุ และมีชีวิตยืนยาวอีกต่อไปได้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น