11/5/12
Laboratory Diagnosis of Myocardial Infarction
Laboratory Diagnosis of Myocardial Infarction
ในการวินิจฉัยโรคกล้ามเนื้อหัวใจถูกทำลาย (heart attack or Myocardial infarction)
แพทย์จะทำการตรวจหาสารชีวภาพ ที่ปรากฏในกระแสเลือด
ซึ่งเป็นตัวบ่งชี้ถึงภาวะกล้ามเนื้อของหัวใจถูกทำลายลง (infarction)
ซึ่งเป็นตัวบ่งชี้ถึงภาวะกล้ามเนื้อของหัวใจถูกทำลายลง (infarction)
โดยสารชี้บ่งดังกล่าว จะปรากฏภายในไม่กี่ชั่วโมงหลังกล้ามเนื้อหัวใจถูกทำลาย
เวลา (Timing) จะเป็นเรื่องสำคัญ เพราะมีความสัมพันธ์ระหว่างอาการของคนไข้
กับผลการตรวจคลื่นของหัวใจ (EKG) และการตรวจสภาพเส้นเลือด
(angiographic studies)
กับผลการตรวจคลื่นของหัวใจ (EKG) และการตรวจสภาพเส้นเลือด
(angiographic studies)
สารชีวภาพ ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกล้ามเนื้อหัวใจตาย ได้แก่:
Creatine Kinase-Total:
ค่าของ total CK สามารถตรวจได้ไม่ยาก ราคาไม่แพง
ซึ่งมีตรวจในห้องปฏิบัติการณ์ทางการแพทย์ทั่วไป
การที่มสารชีวิภาพตัวอังกลาวสูง นอกจากจะพบได้ในภาวะกล้ามเนื้อหัวใจ
ถูกทำลายแล้ว ยังสามารถพบได้ในภาวะของกล้ามเนื้อลายทั่วไปถูกทำลายด้วย
การที่มสารชีวิภาพตัวอังกลาวสูง นอกจากจะพบได้ในภาวะกล้ามเนื้อหัวใจ
ถูกทำลายแล้ว ยังสามารถพบได้ในภาวะของกล้ามเนื้อลายทั่วไปถูกทำลายด้วย
Creatine Kinase - MB Fraction:
Creatine kinase เป็นเอ็นไซม์ ยังสามารถถูกแบ่งอออกไปได้อีกถึง 3 ตัว:
MM, MB และ BB fractions
MM fraction จะปรากฏในกล้ามเนื้อหัวใจ และกล้ามเนื้อลายทั่วไป
ส่วน MB fraction จะพบได้ในกล้ามเนื้อหัวใจเป็นส่วนใหญ่
โดยพบเอ็นไซม์ CK- MB fraction ในกล้ามเนื้อหัวใจได้ประมาณ 15 % - 40 %
มีเพียง 2 % เท่านั้นที่พบได้ในกล้ามเนื้อลาย
มีเพียง 2 % เท่านั้นที่พบได้ในกล้ามเนื้อลาย
ส่วนเอ็นไซม์ BB fraction จะพบได้ในสมอง, กระเพาะปัสสาวะ และกระเพาะลำไส้
ซึ่งไม่มีประโยชน์ต่อการนำมาวินิฉัยโรคกล้ามเนื้อหัวใจถูกทำลายเลย
สำหรับ CK-MB ยังมีประโยชน์สำหรับวินิจฉัยภาวะกล้ามเนื้อหัวใจ
ซึ่งเกิดตายซ้ำขึ้นอีก (reinfarction) หลังจากที่เคยเกิดมาก่อนแล้ว
หรือพบในภาวะของกล้ามเนื้อหัวใจถูกทำลายอย่างรุนแรง
หรือพบในภาวะของกล้ามเนื้อหัวใจถูกทำลายอย่างรุนแรง
Troponins:
Troponins I และ T เป็นส่วนหนึ่งในโครงสร้างของกล้ามเนื้อหัวใจ
มันจะถูกปล่อยออกสู่กระแสเลือดเมื่อกล้ามเนื้อหัวใจถูกทำลาย (injury)
จัดเป็นสารที่บ่งชี้ให้ทราบถึงภาวะกล้ามเนื้อหัวใจถูกทำลายได้ดีกว่า CK-MB
ถูกนำมาใช้ยืนยันว่า การที่คนไข้มีระดับ CK สูงนั้น เป็นผลเนื่องมาจากกล้ามเนื้อ
หัวใจถูกทำลายมากกว่าที่จะเป็นกล้ามเน้อลาย (skeletal muscle) ถูกทำลาย
Troponins จะเริ่มมีค่าสูงขึ้นเมื่อกล้ามเนื้อหัวใจถูกทำลาย (MI) ภายใน 3 – 12 ชม.
ซึ่งจะเกิดขึ้นในเวลาเดียวกันกับการตรวจพบ CK-MB
อย่างไรก็ตาม ในระยะแรกๆ ของการทำลายของกล้ามเนื้อหัวใจ
ค่าของ Troponins อาจไม่มากเท่ากับค่าของ CK-MB
ค่าของ Troponins จะยังคงมีระดับสูงนานถึง 5 – 10 วันสำหรับ troponins I
และจะพบได้นานถึง 2 อาทิตย์สำหรับ troponins T
จากความจริงดังกล่าว ตัว Troponins จึงเป็นตัวชี้บ่งทางชีวภาพ ที่ถูกนำมา
ใช้ เพื่อวินิจฉัยภาวะกล้ามเนื้อหัวใจถูกทำลาย (MI) ในระยะไม่นานมานี้
(มีค่าเหนือกว่า lactate dehydrogenase (LDH) )
อย่างไรก็ตาม การที่พบค่า Troponins ยังคงมีค่าสูงอย่างต่อเนื่อง...
จะมีผลเสียคือ ทำให้ยากต่อการวินิจฉัยภาวการณ์เกิดกล้ามเนื้อหัวใจถูกทำลาย
ว่า มันเกิดซ้ำขึ้นมาใหม่ หรือเป็นเพราะการทำลายของกล้มเนื้อหัวใจ
ยังดำเนินต่อเนื่อง
ส่วน Troponin T จะสูญเสียความจำเพาะเจาะจงไป
เพราะการที่ค่างของมันสูง สามารถพบได้ในรายที่กล้ามเนื้อลายถูกทำลาย
และยังสามารถพบได้ในรายที่เกิดโรคไตวาย (renal failure) ได้
Myoglobin:
Myoglobin เป็นโปรตีนพบได้ในกล้ามเนื้อลาย (skeletal muscle)
และกล้ามเนื้อหัวใจ (myocardial muscle) ซึ่งจะทำหน้าที่จับออกซิเจน
และกล้ามเนื้อหัวใจ (myocardial muscle) ซึ่งจะทำหน้าที่จับออกซิเจน
เป็นตัวบ่งชี้ให้ทราบถึงภาวะกล้ามเนื้อถูกทำลาย (muscle injury)
ของทั้งกล้ามเนื้อหัวใจ และกล้ามเนื้อลาย
ของทั้งกล้ามเนื้อหัวใจ และกล้ามเนื้อลาย
การพบค่า myoglobin ที่เพิ่มสูงขึ้น
จะบอกให้ทราบถึงขนาดของกล้ามเนื้อ ที่ถูกทำลายไป
และการไม่พบค่า myoglobin สามารถช่วยให้เราบอกได้ว่า
จะบอกให้ทราบถึงขนาดของกล้ามเนื้อ ที่ถูกทำลายไป
และการไม่พบค่า myoglobin สามารถช่วยให้เราบอกได้ว่า
กล้ามเนื้อของหัวใจไม่มีการทำลาย และค่าของ myoglobin ที่เพิ่มขึ้น
จะเกิดก่อน CK-MB
จะเกิดก่อน CK-MB
BNP:
B-type natriuretic peptide (BNP) จะถูกปล่อยออกมาจากกล้ามเนื้อหัวใจ
ห้องล่าง (ventricular myocardium) ที่ถูกทำลาย
นอกจากนั้น BNP ยังสามารถถูกปล่อยออกสู่กระแสเลือดโดย systolic &
Diastolic left ventricular dysfunction, acute coronary syndromes,
นอกจากนั้น BNP ยังเป็นตัวบ่งชี้ให้ทราบถึงภาวะของหัวใจล้มเหลว (heart failure)
C- reactive protein (CRP):
C-reactive protein (CRP) เป็นสารโปรตีนจะมีค่าสูงขึ้น เมื่อมีการอักเสบเกิดขึ้นอย่าง
รุนแรง โดยที่การอักเสบ (inflammation) เป็นส่วนหนึ่งของการเกิด
atheroma formation
atheroma formation
C-reactive protein อาจสะท้อนให้ทราบถึงขนาดของคราบ
atheromatous plaque ที่เกิดขึ้น
และสามารถทำนายความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดของหัวใจในอนาคตได้
atheromatous plaque ที่เกิดขึ้น
และสามารถทำนายความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดของหัวใจในอนาคตได้
Previous << 1 2 >> Next
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น