11/5/12
Myocardial Infarction (MI)
The pathogenesis can include:
Myocardial Infarction (MI)
The pathogenesis can include:
§ ก้อนเลือดอุดหลอดเลือดของหัวใจ (Occlusive intracoronary thrombus)
และลิ่มเลือดที่ปรากฏบนคราบไขมันที่ถูกกัดเซาะ (erosion) ซึ่งพบได้ 25 %
· เส้นเลือดหดเกร็ง (Vasospasm) อาจเกิดร่วมกับหลอดเลือดหัวใจตีบตัน
หรือมีการจับตัวของเกล็ดเลือด
หรือมีการจับตัวของเกล็ดเลือด
ในปี 2000 ทั้ง European Society of Cardiology และ American College of Cardiology
มีความเห็นพ้องต้องกันให้คำจำกัดความของ myocardial infarction ขึ้นใหม่
โดยอาศัยพื้นฐานของเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจตายลงไป (necrosis)
ซึ่งบอกให้ทราบโดยตัวบ่งชี้ทางชีวภาพ troponins ถูกปล่อยออกสู่กระแสเลือด
เมื่อมีภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายขึ้น จะมีภาวะแทรกซ้อนเกิดตาม
ซึ่งมีได้แตกต่างกัน โดยขึ้นกับขนาด และตำแหน่งของกล้ามเนื้อหัวใจถูกทำลายไป,
ตลอดรวมไปถึงโรคที่เกิดก่อนที่กล้ามเนื้อ...จะถูกทำลาย
ภาวะแทรกซ้อนประกอบด้วย:
§ Arrhythmias and conduction defects, with possible "sudden death"
§ Extension of infarction, or re-infarction
§ Congestive heart failure (pulmonary edema)
§ Cardiogenic shock
§ Pericarditis
§ Mural thrombosis, with possible embolization
§ Myocardial wall rupture, with possible tamponade
§ Papillary muscle rupture, with possible valvular insufficiency
§ Ventricular aneurysm formation
การเกิดมีภาวะหัวใจขาดเลือดอย่างรุนแรง (heart attack)...
สามารถทำให้คนไข้เสียชีวิตได้อย่างฉับพลันได้
ในคนไข้พวกนี้ มีแนวโน้มที่เป็นโรคหลอดเลือดตีบแข็งอย่างรุนแรง
(coronary atherosclerosis) โดยมีการตีบแคบมากกว่า 75 %
ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลเนื่องมาจากก่อนเลือด หรือลิ่มเลือด (thrombosis) ในหลอดเลือดของหัวใจ
หรือมีเลือดออกที่คราบของไขมันในผนังของหลอดเลือด หรือเป็นเพราะเส้นเลือดแตกเสียเอง
โดยที่กลไกที่ทำให้คนไข้เสียชีวิตส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการเต้นของหัวใจผิดปกติ
(arrhythmia)
(arrhythmia)
Ischemic Cardiomyopathy
ภายใต้ภาวะเช่นนี้...คนไข้อาจมีกล้าเนื้อหัวตาย (myocardial infarction) มาก่อน
ซึ่งเป็นผลมาจากโรคหลอดเลือดหัวใจตีบอย่างรุนแรง และมีเส้นเลือดแขนงใหญ่ ๆ
เข้ามาเกี่ยวข้องหลายเส้น ยังผลให้กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
และนำไปสู่การตายของเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ (myocyte loss) ในทีสุด
การตายของเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ ร่วมกับมีพังผืดเกิดในรูปแบบ
interstitial collagen deposition เป็นเหตุให้การทำงานได้ไม่ดี ร่วมกับการขยายต้ว
ของหัวใจ (dilatation) ยังผลให้เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจต้องทำงานหนักขึ้นไปอีก
interstitial collagen deposition เป็นเหตุให้การทำงานได้ไม่ดี ร่วมกับการขยายต้ว
ของหัวใจ (dilatation) ยังผลให้เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจต้องทำงานหนักขึ้นไปอีก
นอกจากจะทำให้เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจโตขึ้น (hypertrophy) ยังอาจมีการชดเชย
ด้วยการเกิดภาวะ hyperplasia ร่วมเข้าไปอีก
จากการชดเชยดังกล่าว จึงทำให้ขนาดของหัวใจ มีขนาดโตขึ้นถึง 2 – 3 เท่าตัว
แต่สุดท้าย หัวใจไม่สามารถชดเฉยสิ่งที่ขาดหายไปได้
จึงเป็นเหตุให้ลงเอยด้วยการเกิดภาวะหัวใจล้มเหลว (heart failure) ร่วมกับ
ภาวะหัวใจเต้นผิดปกติ และ/หรือ เหตุการณ์ขาดเลือดต่าง
Ischemic cardiomyopathy เป็นสาเหตุทำให้คนเราเสียชีวิตได้ถึง 40 %
ของคนไข้ที่เป็นโรคหัวใจขาดเลือด IHD
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น