Continued….
ชนิดของ “อินซูลิน” (Types ofInsulin)
ในขณะนี้ เรามีอินซูลินจำนวนไม่น้อย
ซึ่งมีประสิทธิภาพในการรักษาเบาหวาน เป็นยาที่ปลอดภัยต่อคนไข้
ซึ่งมีประสิทธิภาพในการรักษาเบาหวาน เป็นยาที่ปลอดภัยต่อคนไข้
และก่อนที่จะใช่อินซูลินดังกล่าว เรามาทำความเข้าใจกับการทำงานของยา
ภายในร่างกายของคนเราว่า มันเป็๋นอย่างไร น่าจะเป็นประโยชน์
ต่อการควบคุมระดับน้ำตาลในกระแสเลือดของเราได้ดีขึ้น
ต่อการควบคุมระดับน้ำตาลในกระแสเลือดของเราได้ดีขึ้น
โดยปกติ
เซลล์ส่วนใหญ่ในร่างกายของเรา ต้องการ
“อินซูลิน”
ให้มันทำหน้าที่นำเอาน้ำตาล “กลูโกส” เข้าสู่เซลล์
เพื่อเปลี่ยนน้ำตางให้เป็นพลังงานสำรับชีวิตต่อไป
ให้มันทำหน้าที่นำเอาน้ำตาล “กลูโกส” เข้าสู่เซลล์
เพื่อเปลี่ยนน้ำตางให้เป็นพลังงานสำรับชีวิตต่อไป
ในคนปกติ....
ตับอ่อน
(pancreas) จะทำหน้าที่สร้างและหลั่ง “อินซูลิน” ได้ในปริมาณที่เพียงพอ
การทำให้ระดับน้ำตาลในกระแสเลือด ซึ่งถูกสร้างจากตับ ให้อยู่ในระดับคงที่
ไม่ถูกสะสมในกระแสเลือด
ไม่ถูกสะสมในกระแสเลือด
เรียกอินซูลินที่ถูกปล่อยออกมาเพื่อการนี้โดยเฉพาะ
ถูกเรียกว่า่ "เบซอล อินซูลิน" (basal insulin)
ถูกเรียกว่า่ "เบซอล อินซูลิน" (basal insulin)
นอกจากนั้น
basal insulin ยังทำหน้าที่จะช่วยตับทำการสะสมพลังงานที่ได้จากอาหาร
เพื่อเก็บเอาไว้ใช้ในตอนหลัง
ไม่ต้องปล่อยน้ำตาลออกสู่กระแสเลือดในคราวเดียวกัน
ซึ่งเป็นวิธีการรักษาระดับของน้ำตาลให้อยู่ในระดับปกติ
ในคนที่เป็นโรคเบาหวาน...
อินซูลิน
ที่ทำหน้าที่เป็น “basal insulin” เราเรียก “long-acting insulin”
โดยแพทยจะให้
insulin ในระดับค่อนข้างต่ำ และอยู่ในกระแสเลือดเป็นเวลานาน
ส่วนอินซูลิน ที่อออกฤทธิ์เร็ว และสั้น ซึ่งจะมีระดับอินซูลินในกระแสเลือด
ในระดับสูง แลจะถูกใช้งานได้ทันที
ในระดับสูง แลจะถูกใช้งานได้ทันที
อินซูลินที่ออกฤทธิ์ได้ยาวนาน
(Long-acting insulin) ที่ถูกนมาใช้บ่อย ๆ
มีสามชนิด้วยกัน: NPH
(Humulin N และ Novolin N), insulin glargine
(Lantus), และ
insulin detemir (Levemir)
NPH insulin จะอยู่ในร่างกายได้นาน 10 – 16 ชั่วโมง
เริ่มต้น
อาจถูกใช้ฉีดวันละครั้ง (single daily injection)
แต่มักจะลงเอยด้วยการใช้ฉีดวันละสองครั้งในตอนหลังเสมอ
ข้อดีของ
NPH insulin คือ ราคาถูก ส่วนข้อเสียของมันอยู่ตรงที่ว่า
เราไม่สามารถบอกได้ว่า ระดับสูงสุด (peak of action) อยู่ตรงจุดไหน ?
เราไม่สามารถบอกได้ว่า ระดับสูงสุด (peak of action) อยู่ตรงจุดไหน ?
ถ้าเวลาของการฉีดไม่เหมาะสม
สามารถทำให้คนไข้ เกิดภาวะ hypoglycemia ได้
(เวลาที่อินซูลินออกฤทธิ์ในร่างกายได้มากสุด
(insulin peak) จะแตกต่างใน
แตละชนิด และอินซูลินที่ดีที่สุด คือชนิดที่เราสามารถรู้ได้ว่า มันออกฤทธิ์
ได้สูงสุดในขณะที่มีระดับน้ำตาลขึ้นสูงหลังรับประทานอาหาร)
Insulin glargine เป็น Long acting insulin ซึ่งสามารถมีฤทธิ์นานถึง 24
ชม.
และออกฤทธิ์ได้สม่ำเสมอ มีระดับจองยาในกระแสเลือดค่อนข้างคงที่ (little peak)
ดังนั้น โอกาสที่จะเกิดภาวะ hypoglycemia จึงมีน้อย
ผลดีอีกอย่างหนึ่งของ
insulin glargine คือ ใช้ฉีดเพียงครั้งเดียว
Long acting insulin ตัวใหม่สุดได้แก่ Insulin detemir
ซึ่งออกฤทธิ์ได้นานถึง
16 – 20 ชม. โดยทั่วไป พบว่า
insulin ตัวนี้ มีระดับยาในกระแสเลือดค่อนข้างสม่ำเสมอกว่า NPH
insulin ตัวนี้ มีระดับยาในกระแสเลือดค่อนข้างสม่ำเสมอกว่า NPH
แต่ไม่สม่ำเสมอเท่า
insulin glargine
Insulin detemir เป็นอินซูลินที่ออกฤทธิ์นาน
ซึ่งเราสามารถคาดคะเน
ได้ เป็นอินซูลินที่ไม่ทำให้มีน้ำหนักตัวเพิ่ม (บางทีอาจทำให้น้ำหนักลดได้เล็กน้อย)
ทั้ง
insulin detemir และ insulin glargine ต่างมีราคาแพง ไม่สามารถ
ผสมกับอินซูลินตัวอื่น
(ในขณะที่ NPH สามารถผสมกับอินซูลินตัวอื่นใน Syringe เดียวกันได้)
Short acting insulin คือ Regular insulin ซึ่งมีชื่อว่า Humulin R และ Novolin R
เป็นยาเก่าแก่ตัวหนึ่ง ซึ่งออกฤทธิ์ในร่างกายได้นานถึง 6-8 ชม
เป็นยาเก่าแก่ตัวหนึ่ง ซึ่งออกฤทธิ์ในร่างกายได้นานถึง 6-8 ชม
หลังฉีดยา สามารถออกฤทธิ์ได้สูงสุดประมาณ
2 ชม. และจะเริ่มออกฤทธิ์ภาย
ใน
30 – 60 นาที่ จึงเป็นการยากที่จะทำให้ยาดังกล่าวประสานการทำงานให้
สัมพันธ์กับอาหารที่คนเรารับประทานเข้าไป
สัมพันธ์กับอาหารที่คนเรารับประทานเข้าไป
เพื่อให้เห็นภาพชัดเจนขึ้น...
ก่อนรับประทานอาหารเที่ยงถ้าท่านได้รับการฉีดยา regular insulin ทันที
หลังอาหารเที่ยงจะพบว่า น้ำตาลในกระแสเลือดจะเพิ่มสูงขึ้นก่อนที่ยา
regular insulin จะออกฤทธิ์เพื่อลดระดับน้ำตาล
และเพื่อให้ฤทธิ์ของยา
regular insulin สามารถออกฤทธิ์ได้ตรงกับน้ำตาลในกระแสเลือดที่เพิ่มขึ้น
เราจะต้องฉีดยาก่อนที่จะรับประทานอาหารประมาณ
30 – 60 นาที
ทั้งๆ
ที่ regular insulin เป็นยาที่ไม่สะดวกต่อการใช้รักษาคนไขเบาหวานก็ตามที
แต่ยังเป็นยาที่มีการใช้กันอย่างกว้างขวาง ด้วยเหตุผลประการเดียวเท่านั้น
แต่ยังเป็นยาที่มีการใช้กันอย่างกว้างขวาง ด้วยเหตุผลประการเดียวเท่านั้น
นันคือ...ราคามันถูก ไม่มีอย่างอื่น
ยา
“อินซูลิน” ที่ออกฤทธิ์เร็ว มีจำนวน 3 ตัวที่เราควรรู้เอาไว้น
นั้นคือ
insulin aspart
(Novolog), insulin lispro (Humalog) และ insulin
Glulisine (Apidra)
ยา
“อินซูลิน” ทั้งสามจะมีโครงสร้างทางเคมีที่แตกต่างกันเพียงเล็กน้อย
แต่ทุกตัวจะออกฤทธิ์นาน
5 ชม.
และจะเริ่มออกฤทธิ์ภายใน 15 นาที่หลังทำการฉีด
ราคาค่อนข้างจะแพง แต่ใช้ได้ง่าย
สามารถทำงานประสานสัมพันธ์กับอาหารที่คนเรา
รับประทานเข้าไปได้ดีกว่า
regular insulin
โดยทั่วไป “อินซูลิน” (rapid insulin) ชนิดนี้สามารถออกฤทธิ์ได้เข้ากับ
น้ำตาลที่ปล่อยสู่กระแสเลือดหลังการรับประทานอาหาร
ทำให้เกิดภาวะน้ำตาลในเลือดลดต่ำลงได้อย่างมาก
(hypoglycemia)
แต่ฤทธิ์ของ
rapid insulin สั้น
มีอินซูลินอีกชนิดหนึ่ง เป็นการผสมระหว่าง Long และ short acting
insulin
ซึ่งผลิตออกในรูป
premixed combination เช่น 70 % NHP และ 30 %
Regular insulin เรียกในอีกชื่อว่า “70/30”
ในตอนแรก insulin premixes ดูเสมือนหนึ่งว่าจะสะดวกต่อการใช้รักษาคนไข้เบาหวาน
แต่ยากต่อการปรับให้เข้ากับคนไข้แต่ละราย เพราะอัตราของอินซูลินมันคงที่
ยกตัวอย่าง ถ้าคนไข้ต้องการ short acting insulin ในปริมาณมาก
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น