Continued….
เมื่อคนเป็นเบาหวานปรเภทสอง (T2DM)...
ได้รับการรักษาด้วยยาเม็ดลดระดับน้ำตาล ร่วมกับการปรับเปลี่ยนพฤติกำรรม
ยังปรากฏว่า ไสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในกระแสเลือดได้
จึงจำเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยการฉีด "อินซุลิน"
จะเริ่มอย่างไรดี ?
(How it initiate insulin ?)
เมื่อคนเป็นเบาหวานปรเภทสอง (T2DM)...
ได้รับการรักษาด้วยยาเม็ดลดระดับน้ำตาล ร่วมกับการปรับเปลี่ยนพฤติกำรรม
ยังปรากฏว่า ไสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในกระแสเลือดได้
จึงจำเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยการฉีด "อินซุลิน"
จะเริ่มอย่างไรดี ?
(How it initiate insulin ?)
โดยทั่วไป การให้ิอินซูลิน (insulin) แก่คนไข้ที่เป็นเบาหวานประเภทสอง...
แพทย์ส่วนใหญ่เขาจะเริ่มด้วยการให้
Long-acting insulin (ฉีด) แก่คนไข้ด้วยการฉีดวันละครั้ง
และในการพิจารณาว่า จะให้ insulin ในขนาด (dose) ในขนาดเท่าใดนั้น
แพทย์เขามีวิธีตัดสินใจหลายทางด้วยกัน
ทางเลือกแรก...
แพทย์เขาจะพิจารณาใช้น้ำหนักคนไข้เป็นเกณฑ์
และสุดท้าย คนไข้เบาหวานประเภทสองจำนวนไม่น้อย จะได้รับ insulin 1 – 2 units
แพทย์เขาจะพิจารณาใช้น้ำหนักคนไข้เป็นเกณฑ์
และสุดท้าย คนไข้เบาหวานประเภทสองจำนวนไม่น้อย จะได้รับ insulin 1 – 2 units
สำหรับน้ำหนักตัว
1 Kilogram ซึ่งหมายความว่า คนน้ำหนักตัว 80 kilogram
จะได้รับ
insulin 80 units ต่อวัน
อย่างไรก็ตาม ในการเริ่มให้ยาเป็นครั้งแรก...
แพทย์อาจเริ่มต้นด้วยการให้
insulin 0.15 units ต่อน้ำหนักตัว 1 kilogram
ดังนั้น คนไข้เบาหวานประเภท 2 จะได้รับ insulin 12 units
ทางเลือกที่สอง....
ไม่ต้องคิดมาก เริ่มให้อินซูลิน (insulin) 10 units
ไม่ต้องคิดมาก เริ่มให้อินซูลิน (insulin) 10 units
ซึ่งเป็นขนาดทีมากพอสำหรับคนไข้ส่วนใหญ่
โดยไม่น่าจะทำให้เกิดภาวะน้ำตาลลดต่ำ-hypoglycemia ได้
ต่อจากนั้น ค่อยๆ เพิ่มขนาดของ insulin ทุก 3 – 7 วัน ตามระดับของน้ำตาล
ที่วัดได้จากกระแสเลือดของคนไข้
ถ้าระดับของน้ำตาลทีวัดได้ในตอนเช้า มีค่าระหว่าง 80 – 100 mg/dL
ถือว่าใช้ได้ ไม่ต้องเปลี่ยนแปลงขนาดของ insulin
ถ้าระดับของน้ำตาล
วัดได้ค่าต่ำกว่า 80 mg/dL…
มันบ่งบอกให้ทราบว่า ขนาดของ insulin ที่ให้มากไป จำเป็นต้องลดขนาดลง
2 units
อย่างไรก็ตาม คนไข้ส่วนใหญ่
จะได้รับ insulin มากกว่าขนาดตอนเริ่มต้น
และเพื่อความปลอดภัย การปรับขนาดของ basal insulin จะถือหลักเกณฑ์
ดังกล่าว
ในการให้
insulin…
แพทย์ส่วนใหญ่จะแนะนำให้ใช้
insulin ในตอนเย็น
ซึ่งจะช่วยลดระดับน้ำตาลในกระแสเลือดในตอนเช้าของวันถัดไป
อย่างไรก็ตาม ปัญหาอย่างหนึ่งจากการให้ NPH ในตอนเย็น (bedtime) คือ...
ยาดังกล่าว
จะทำให้มีฤทธิ์สูงสุดในตอนเที่ยงคืน
ซึ่งมีแนวโน้มทำให้เกิด
ภาวะน้ำตาลตก
hypoglycemia ในระหว่างนอนหลับได้
ระวัง!.....
ระวัง!.....
ในปัจจุบัน เราจะพบว่า แพทย์หันมาใช้ insulin- detemir & glargine
ด้วยเหตุผลที่ว่า ฤทธิ์ยาในกระแสเลือดจะอยู่ในระดับที่สมำเสมอขคงที่ได้ดีกว่า NPH
จึงเป็นยาที่ปลอดภัยจากการเกิด
hypoglycemia ในตอนกลางคืนได้
การให้ยา อาจเป็นตอนเช้า หรือตอนเย็นก่อนนอนนั้น
ย่อมขึ้นกับแนวโน้มของระดับน้ำตาลในเลือด และความชอบของแพทย์ผู้ให้การรักษา...
ย่อมขึ้นกับแนวโน้มของระดับน้ำตาลในเลือด และความชอบของแพทย์ผู้ให้การรักษา...
ซึ่งหมายความว่า basal insulin สามารถให้ในตอนเช้า..
แทนการให้ในตอนเย็นได้
แทนการให้ในตอนเย็นได้
ภายหลังจากการใช้
Long acting insulin เพียงอย่างเดียวเป็นเวลา 3 เดือน
ยังพบว่า HbA1C มีค่าสูงกว่า 7 % ซึ่งบ่งบอกให้ทราบว่า
คนไข้ควรได้รับ
Regular หรือ
rapid- acting insulin เพื่อคุมระดับน้ำตางที่ได้จากอาหาร
ที่คนไข้รับประทานเข้าไป โดยสามารถเริ่มให้ในมื้อที่รับประทานอาหารหนัก
ที่คนไข้รับประทานเข้าไป โดยสามารถเริ่มให้ในมื้อที่รับประทานอาหารหนัก
ซึ่งมักจะเป็นอาหารเย็น
(สำหรับคนอเมริกัน)
ด้วยวิธีการง่าย
ๆ โดยการเริ่มให้ regular insulin ในช่วงรับประทานอาหาร
สามารลดระดับของอินซูลินออกฤทธิ์ยาว ( long-acting insulin)ได้ถึง 10 %
และรับอินซูลินที่ออกฤทธิ์เร็ว ( rapid-acting Insulin)ในช่วงของอาหารเย็น
และรับอินซูลินที่ออกฤทธิ์เร็ว ( rapid-acting Insulin)ในช่วงของอาหารเย็น
ยกตัวอย่าง ถ้าท่านเคยรับ long-acting insulin (glargine) 20 units ใน
ตอนเย็น
(bedtime)….
เมื่อท่านรับ
aspart, lospro หรือ glulisine เพื่อคุมอาหารเย็น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น