โรคเบาหวานประเภท 2 กับ อินซูลิน
เมื่อคนส่วนใหญ่พบว่า
ตนเองเป็นเบาหวานประเภทสอง จะถูกแนะนำให้ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต
ในเรื่องการรับประทานอาหาร และการออกกำลังกายกัน ....
ในเรื่องการรับประทานอาหาร และการออกกำลังกายกัน ....
การเปลี่ยนแปลงดังกล่าว จะต้องปฏิบัติทุกวันไม่ให้ขาด ให้
รับประทานอาหารที่มีคุณภาพ ปริมาณพลังงานที่ได้จากอาหาจะต้องน้อยลง
รับประทานอาหารที่มีคุณภาพ ปริมาณพลังงานที่ได้จากอาหาจะต้องน้อยลง
ซึ่งเป็นเรื่องสำคัญสำหรับรักษาโรคเบาหวาน
อันจะนำไปสู่การควบคุมร
ให้ะดับน้ำตาลในกระแสเลือดลดสูระดับเป้าหมาย
ให้ะดับน้ำตาลในกระแสเลือดลดสูระดับเป้าหมาย
ถ้าหากพบว่า
ท่านยังไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้...
ท่านจะได้รับยาเม็ดลดระดับน้ำตาล ซึ่งอาจเป็นยา glyburide, glipizide
หรือ metformin
การรักษาด้วยยา และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่น่าที่จะเป็นวิธีการแก้ปัญหาขั้นสุดท้าย
ทั้งนี้เป็นเพราะเมือเวลาผ่านไป ตับอ่อนมีแนวโน้มที่จะผลิต “อินซูลิน” ได้น้อยลง ๆ
ไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกายได้
หรือ metformin
การรักษาด้วยยา และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่น่าที่จะเป็นวิธีการแก้ปัญหาขั้นสุดท้าย
ทั้งนี้เป็นเพราะเมือเวลาผ่านไป ตับอ่อนมีแนวโน้มที่จะผลิต “อินซูลิน” ได้น้อยลง ๆ
ไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกายได้
สุดท้าย ต้องลงเอยด้วยการได้รับยาลดน้ำตาลชนิดที่เป็นยาฉีด...insulin
ซึ่งเป็นวิธีที่ดีที่สุดสำหรับเบาหวานประเภทสอง
แต่เท่าที่ปรากฏ...การรักษาด้วย
insulin
จะมีอุปสรรคสองประการ:
ส่วนมากจะเป็นด้านจิตใจ
(phychological)
และบางครั้งเป็นปัญหาด้านร่างกาย
และด้านการเงิน
เป็นเหตุให้ไม่สามารถได้รับยาฉีด "อินซูลิน" ได้ตามที่ต้องการ
เป็นเหตุให้ไม่สามารถได้รับยาฉีด "อินซูลิน" ได้ตามที่ต้องการ
ถ้าคนไข้ได้รับ
insulin ตั้งแต่เนิ่น
ๆ และใช้ได้อย่างเหมาะสม...
คนไข้จะได้รับประโยชน์จากการรักษาดังกล่าว
และสามารถป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ได้
และสามารถป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ได้
เช่น
โรคทางตา retinopathy, และเส้นประสาทถูกทำลาย (neuropathy)
มีบางคนเข้าใจผิด...คิดว่า การฉีด insulin เป็นความล้มเหลวของการรักษา
ความจริงแล้ว...ไม่ใช้เช่นนั้นเลย
บางสถาบันแนะนำให้ทำการรักษาด้วยการฉีดตั้งแต่เนิ่น ๆ เสียด้วยซำ้ไป
บางสถาบันแนะนำให้ทำการรักษาด้วยการฉีดตั้งแต่เนิ่น ๆ เสียด้วยซำ้ไป
เราจะเริ่มให้
insulin เมื่อใด ?
โดยทั่วไป เราจะเริ่มให้ insulin เมื่อคนเป็นเบาหวานได้รับยาเม็ดลดระดับน้ำตาล
(ส่วนใหญ่จะได้รับไม่เกินสองตัว) รวมกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
แล้วไม่สามารถลดระดับ A1C ได้ต่ำกว่า 7 %
แล้วไม่สามารถลดระดับ A1C ได้ต่ำกว่า 7 %
เมื่อไม่นานมานี้ American Diabetes Association และ the European Assocition
for the Study of Diabetes ได้ชี้แนะว่า คนไข้ที่เป็นโรคเบาหวาน ได้รับการรักษา
ด้วย metformin เพียงอย่างเดียวแล้ว ยังปรากฏว่า A1C ยังมีค่าสูงกว่า 7 %
เขาแนะนำให้ใช้ ฉีด "อินซูลิน"ได้เลย
โดยรอดูผหลจากการใช้ยา metformin อย่างน้อย 3 - 4 เดือน
for the Study of Diabetes ได้ชี้แนะว่า คนไข้ที่เป็นโรคเบาหวาน ได้รับการรักษา
ด้วย metformin เพียงอย่างเดียวแล้ว ยังปรากฏว่า A1C ยังมีค่าสูงกว่า 7 %
เขาแนะนำให้ใช้ ฉีด "อินซูลิน"ได้เลย
โดยรอดูผหลจากการใช้ยา metformin อย่างน้อย 3 - 4 เดือน
ผลจากการศึกษาในคนที่เป็นโรคเบาหวานประเภทสอง
(T2DM)
เมื่อได้รับยาเม็ดลดระดับน้ำตาลสองตัวเป็นเวลาติดต่อกัน
3 ปี
มีเพียง 30 % เท่านั้นที่มี A1C ต่ำกว่า 7 %
มีเพียง 30 % เท่านั้นที่มี A1C ต่ำกว่า 7 %
โดยทั่วไป มีการแนะนำว่า
เราจะเริ่มต้นให้ insulin ตังแต่แรกเริ่ม
เมื่อพบว่า ระดับของ A1C มีระดับสูงกว่า 10 % หรือระดับของน้ำตาล
ในกระแสเลือดมีระดับสูงกว่า
250 mg/dL
ผลการศึกษาจำนวนไม่น้อย พบว่า...
มีแพทย์จำนวนมากจะรอจนกว่า ระดับของ HbA1c มีค่าสูงกว่า 9 %
จึงจะเริ่มรักษาด้วย “อินซูลิน” (insulin therapy)
ซึ่งเป็นการรอให้คนไข้มีระดับน้ำตาลในกระแสเลือดสูงเป็นเวลานหลายเดือน หรือปี
จึงจะเริ่มรักษาด้วย “อินซูลิน” (insulin therapy)
ซึ่งเป็นการรอให้คนไข้มีระดับน้ำตาลในกระแสเลือดสูงเป็นเวลานหลายเดือน หรือปี
จนเป็นเหตุให้มีการเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนในเวลาต่อมา
ความจริงที่น่าเป็นห่วงอย่างหนึ่ง
คือ
ภายใต้ภาวะที่แพทย์ทุกคนยุ่งอยู่กับงาน
รักษาคนไข้นั้น บังไม่ปรากฏว่า
มีการตั้งกฏเกณฑ์ที่แน่นอนว่า
คนไข้เป็นเบาหวานต้องได้รับการฉีด
“อินซูลินเมื่อใด” ?
ทั้งๆ
ที่เป็นเรื่องง่ายต่อการปฏิบัติของแพทย์, พยาบาล, และเภสัชกร...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น