continued...
Anti-adrenergics drugs
ยาในกลุ่มนี้จะลดความดันโลหิตลงได้ด้วยการลดการทำงานของฮอร์โมนสองตัว
ซึ่งได้แก่ epinephrine และ norepinephrine (ทำให้เส้นเลือดหดตัว)
ซึ่งได้แก่ epinephrine และ norepinephrine (ทำให้เส้นเลือดหดตัว)
จึงทำให้เส้นเลือดเกิดการคลายตัว
(relax) และการบีบตัว
และอัตราการเต้นของหัวใจลดลง
และอัตราการเต้นของหัวใจลดลง
ในขณะที่คนเรามีความเครียด (stress) หรือในขณะที่มีการออกแรง-ออกกำลังกาย
เซลล์ประสาทจะปล่อยสารสื่อประสาทออกมาสองตัว- epinephrine
เซลล์ประสาทจะปล่อยสารสื่อประสาทออกมาสองตัว- epinephrine
และ norepinephrine ซึ่งสารสื่อประสาทดังกล่าวจะจับตัวกับเซลล์ของกล้าม
เนื้อหัวใจ
ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจออกแรงบีบตัวเพิ่มขึ้น และเต้นเร็วขึ้น
เป็นเหตุให้ความดันโลหิตเพิ่มสูงขึ้น
เป็นเหตุให้ความดันโลหิตเพิ่มสูงขึ้น
เมื่อคนไข้ได้รับยา beta blockers หรือ anti adrenergic drugs
ยาดังกล่าวจะจับตัวกับ beta receptors ซึ่งอยู่บนเซลล์ของกล้ามเนื้อหัวใจ
เป็นเหตุให้สารสื่อประสาท (epinephrine & norepinephrine) ไม่สามารถจับ beta
receptors
ได้ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจ เต้นช้าลง และบีบตัวน้อยลง...
ได้ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจ เต้นช้าลง และบีบตัวน้อยลง...
เป็นผลทำให้ความดันโลหิตลดลง
ยาที่อยู่ในกลุ่ม Anti-adrenergic
drugs:
§ Beta blockers (cardioseclective)
o
Atenolol
(Tenormin)
o
metoprolol
(Lopressor)
§ Beta blockers (non-selective)
o
propranolol
(Inderal, Inderal LA)
o
nadolol
(Corgard)
o
pindolol
(Visken)
o
sotalol
(Betapace)
§ Alpha-1 blockers
o
doxazosin
(Cardura)
o
prazosin
(Minipress)
o
terazosin
(Hytrin)
§ Alpha and beta blockers
o
carvedilol
(Coreg)
o
labetalol
(Normodyne, Trandate)
§ Centrally acting agents
o
clonidine
(Catapres, Catapres-TTS)
o
methyldopa
(Aldomet)
§ Peripheral nerve–acting agents
o
guanethidine
(Ismelin)
o reserpine (Serpalan)
Peripheral adrenergic-receptor
blockers.
ยากลุ่มนี้ทำหน้าที่ปhองกันไม่ให้สารสื่อประสาท
(neurotransmitters) ไxจับกับเซลล์
ซึ่งจะทำการกระตุ้นหัวใจ และเส้นเลือด ถูกแบ่งออกเป็นสองกลุ่ม
คือ
beta blockers และ alpha
blockers
§ Beta blockers ถูกนำมาใช้ตั้งแต่ปี 1960s
โดยจะทำหน้าสะกัดกั้นไม่ให้สารสื่อประสาท
(epinephrine) ทำงานได้ ด้วยการไปล๊อกตรงตำแหน่งในเซลล์ ที่มีชื่อว่า “ตัวรับ”
(receptors) ไม่ให้สารสื่อประสาททำงานได้ตามปกติด้วยการจับคู่กับเซลลฺ์ตัวรับ
(epinephrine) ทำงานได้ ด้วยการไปล๊อกตรงตำแหน่งในเซลล์ ที่มีชื่อว่า “ตัวรับ”
(receptors) ไม่ให้สารสื่อประสาททำงานได้ตามปกติด้วยการจับคู่กับเซลลฺ์ตัวรับ
เป็นเหตุทำให้หัวใจเต้นช้าลง และทำให้ความดันหิตลดตาม
Beta
blockers จะมีสองชนิดด้วยกัน- cardioselective และ nonselective
Cardioselective
beta blocker จะทำหน้าที่จับคู่กับเซลล์ ที่เป็น beta-1
receptos
ซึ่งอยู่ในกล้ามเนื้อหัวใจส่วน nonselective beta blockers
ไม่เพียงแต่จะจับเซลล์ตัวรับที่เป็นทั้ง beta-1 receptors
แต่จะจับคู่กับ beta-2 receptors ซึ่งพบได้ที่ปอด, เส้นเลือด และเนื้อเยื่ออื่นๆด้วย
ซึ่งอยู่ในกล้ามเนื้อหัวใจส่วน nonselective beta blockers
ไม่เพียงแต่จะจับเซลล์ตัวรับที่เป็นทั้ง beta-1 receptors
แต่จะจับคู่กับ beta-2 receptors ซึ่งพบได้ที่ปอด, เส้นเลือด และเนื้อเยื่ออื่นๆด้วย
ยาในกลุ่ม
beta blockers ทั้งสองชนิดต่างทำให้คนที่เป็นโรคหืดหอบ
และโรคทางเดินของลมหายใจเรื้อรังเลวลงได้
แต่กลุ่ม
nonselective จะมีอันตรายต่อระบบทางเดินของลมหายใจได้มากกว่า
นอกจากนั้นเรายังพบว่า beta
blockers สามารถทำให้คนที่เป็นโรคหัวใจวายในบางคนเลวลง
แต่ในบางคนกลับทำให้ดีขึ้น และยังทำให้เกิดการบดบังอาการจากน้ำตาลในเลือดลดตำ่
(hypoglycemia) ในคนเป็นโรคเบาหวานได้อีกด้วย
แต่ในบางคนกลับทำให้ดีขึ้น และยังทำให้เกิดการบดบังอาการจากน้ำตาลในเลือดลดตำ่
(hypoglycemia) ในคนเป็นโรคเบาหวานได้อีกด้วย
ผลข้างเคียงที่เกิดจาก
beta blockers ได้แก่
เหนื่อยเพลีย, ซึมเศร้า,
มีปัญหาด้านแข็งตัวของอวัยวะเพศ,
หายใจไม่พอ, นอนไม่หลับ และ
ไม่สามารถออกกำลังกายได้ทน
§ Alpha blockers จะออกฤทธิ์เหมือนกับยา beta blocker แต่มันจะทำงานที่เซลล์- alpha receptors
ซึ่งเป็นตำแหน่งให้สารสื่อประสาท ชื่อ nor-epinephrine ไปจับคู่
เพื่อทำหน้าที่ทำให้เส้นเลือด เกิดการหัดตัว (vasoconstriction)
ซึ่งเป็นตำแหน่งให้สารสื่อประสาท ชื่อ nor-epinephrine ไปจับคู่
เพื่อทำหน้าที่ทำให้เส้นเลือด เกิดการหัดตัว (vasoconstriction)
ยาที่ชื่อว่า
alpha-1 blockers จะทำหน้าบล็อกที่
alpha receptors ในกล้ามเนื้อหัวใจ
และเส้นเลือด
นอกจากจะมีประโยชน์ในการลดระดับความดันโลหิตแล้ว มันยังช่วย
ลดไขมันในเลือดอีกด้วย
(cholesterol, LDL cholesterol)
และเพิ่มระดับ
HDL cholesterol ให้สูงขึ้นอีกด้วย
Alpha
blockers อาจทำให้คนเป็นเบาหวานตอบสนองต่อ “อินซูลิน”
ได้ดีขึ้น นอกจากนั้น
ยังถูกนำไปใช้รักษาโรคต่อมลูกหมากโต (BPH)ได้อีกด้วย
โดยสารดังกล่าว จะทำให้กล้ามเนื้อเรียบที่อยู่รอบ ๆ ต่อมลูกหมากเกิดการคลายตัว (relax)
และทำให้ปัสสาวะง่ายขึ้นด้วยการลดการหดเกร็งของทางเดินปัสสาวะ urethra
โดยสารดังกล่าว จะทำให้กล้ามเนื้อเรียบที่อยู่รอบ ๆ ต่อมลูกหมากเกิดการคลายตัว (relax)
และทำให้ปัสสาวะง่ายขึ้นด้วยการลดการหดเกร็งของทางเดินปัสสาวะ urethra
ฤทธิ์ข้างเคียงของ
alpha blockers ได้แก่ความดันลดต่ำเมื่อลกขึ้นนั่ง
หรือยืน,
ใจสั่น , วิงเวียน, คัดจมูก, ปวดศีรษะ, และคอแห้ง
ใจสั่น , วิงเวียน, คัดจมูก, ปวดศีรษะ, และคอแห้ง
นอกจากนั้น มนยังทำให้เกิด erectile
dysfunction ได้อีกด้วย
แต่ยังพบได้นอยกว่ายาลดความดันโลหิตชนิดอื่นๆ
มีคนไข้บางรายได้รับยาทั้ง alpha blockers และ beta blockes
เพื่อควบคุมระดับความดันโลหิตสูงของเขา เช่น Labetalol (Normodyne)
และ carvedilol
(Coreg) ซึ่งออกฤทธิ์ทั้งสองอย่าง
Central acting agents (central anti-adrenergics)
ยาในกลุ่มนี้จะทำหน้าที่บล็อก “สารสื่อประสาท”
ที่ทำหน้าทีกระดุ้น
ระบบประสาทอัตโนมัติไม่ให้เพิ่มระดับความดันโลหิต
ระบบประสาทอัตโนมัติไม่ให้เพิ่มระดับความดันโลหิต
ยาในกลุ่มนี้ได้แก่ clonidine
(Catpres) และ methyldopa(Aldmet)
เป็นยาที่ถูกนำไปใช้รักษาความดันโลหิตสูง โดยใช้รวมกับยาลดความ
ดันตัวอื่น ๆ
ฤทธิ์ข้างเคียงของยาในกลุ่มนี้ ความดันโลหิตจะลดลงตอนลุกขึ้นยืน,
ทำให้เกิดคอแห้ง, เกิดอาการซึมเศร้า, และสมรรถภาพทางเพศเสียไป
ทำให้เกิดคอแห้ง, เกิดอาการซึมเศร้า, และสมรรถภาพทางเพศเสียไป
(erectile dysfunction), และทำให้ง่วงอยากนอน
Peripheral nerve–acting agents
ยาตัวนี้ (anti-adrenergics) เป็นยาที่
เราไม่ค่อยจะใช้กันแล้ว เพราะมีผลข้างเคียงเกิดได้บ่อยมาก
มันจะออกฤทธิ์โดยทำลายสารสื่อประสาท (autonomic nerve norepinephrine)
มันจะออกฤทธิ์โดยทำลายสารสื่อประสาท (autonomic nerve norepinephrine)
ซึ่งเป็นสารที่ทำหน้าที่ทำให้เส้นเลือดหดตัว เป็นเหตุให้ความดันสูงขึ้น
ยาตัวนี้มักจะนำไปใช้ร่วมกับยาลดความดันตัวอื่น
ๆ
เช่น
Reserpine มีผลข้างเคียงมาก ทำให้ไม่น่าใช้
เช่น เกิดอาการซึมเศร้า,
ฝันร้าย, คัดจมูก, แน่นท้องอาหารไม่ย่อย
ส่วนยา Ismelin จะทำให้เกิดความดันโลหิตลดลงเมื่อลุกขึ้นยืนและทำให้หัวใจเต้นช้าลง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น