Aug. 28, 2013
เพื่อให้ท่านสามารถอยู่ร่วมกับโรคเส้นเลือดส่วนปลาย (peripheral artery disease)
ได้อย่างปลอดภัย ไม่เป็นอันตราย ท่านสามารถกระทำได้ดังนี้:
Exercise
เป็นที่ทราบกันว่า การบริหารร่างกายอย่างสม่ำเสมอ เป็นวิธีการรักษา
โรคเส้นเลือดแดงส่วนปลายได้อย่างมีประสิทธิภาพดีที่สุด
โดยเฉพาะในรายเป็นไม่มาก...มีอาการปวดชนิดเกิดขึ้น แล้วหายไป
สำหรับคนไข้ส่วนใหญ่ที่เป็นโรคดังกล่าว...
เป้าหมายในการรักษา คือ การออกกำลังกายด้วยการ “เดิน” ทุกวัน
เป็นเวลาวันละ 30 นาที ซึ่งนักกายภาพบำบัด หรือแพทย์ เป็นผู้แนะนำ
และอาจวางโปรแกรมสำหรับท่าน...
ในการบริหารร่างกาด้วยการเดิน ...
ท่านจะต้องเดินจนกระทั้งจะมีอาการปวดเกิดขึ้น....
เมื่อมีอาการปวดเกิดขึ้น ท่านต้องหยุดเดินทันที...หยุดพักจนอาการปวดหายไป
หลังจากนั้น ให้ท่านเริ่มต้นเดินใหม่อีก โดยใช้เวลา 30 นาที
จากการทำเช่นนั้น ร่างกายของท่านจะบอกให้ท่านได้ทราบว่า เมื่อไหร่ควรหยุดพัก
การดูแลรักษาเท้า (Foot Care)
การดูแลรักษาเท้า เป็นอีกเรื่องหนึ่ง ซึ่งจัดเป็นเรื่องที่สำคัญเป็นอย่างยิ่งสำหรับคน
เป็นโรคเส้นเลือดแดง (peripheral artery disease) ซึ่งประกอบด้วย:
ให้สรวมรองเท้าที่เหมาะสม...รองรับเท้าได้ดี
หลีกเลี่ยงต่อการเกิดบาดเจ็บของเท้า อย่าเดินด้วยเท้าเปล่า
ให้สรวมถุงเท้าหนา ๆ เป็นถุงเท้าที่สามารถดูดซับน้ำได้เป็นอย่างดี
ให้ล้างเท้าให้สะอาดทุกวัน ทำให้เท้าแห้ง พร้อมกับทาน้ำมันป้อง
กันไม่ให้ผิวหนังแห้งแตก ตรงบริเวณนิ้วเท้าจะต้องแห้ง
รักษาการอักเสบของเท้า (Athlete’s foot or Hongong foot) ถ้ามี
รักษาแผลที่เท้าให้ดี... ซึ่งอาจจำเป็นต้องใส่เฝือก หรือใช้ไม่เท้าช่วยเดิน
ท่านจะต้องพบแพทย์ หรือรายงาน.ให้แพทย์ได้รับทราบทันที
ที่มีแผลเกิดที่เท้า
<< PREV
www.healthinaging.org
วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2556
ปัญหาการไหลเวียนเลือดในคนสูงวัย P. 4 (Peripheral artery disease): Care & Treatment
Aug. 28, 2013
Care & Treatment
เมื่อท่านได้รับการวินิจฉัยว่า เป็นโรคเส้นเลือดแดงส่วนปลาย...
สิ่งแรกที่ท่านจะต้องกระทำ:
เลิกสูบบุหรี่ทันที
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับทานอาหาร ด้วยการลดปริมาณไขมันในอาหาร
และลดระดับคลอเลสเตอรองในเลือดลง
เริ่มบริหารร่างกายด้วยการเดิน หรือออกกำลังกายตามที่ได้กำหนดไว้
เพราะการออกกำลังกายเป็นกรรมวิธีทำให้การไหลเวียนของเลือดได้ดีที่สุด
โดยเฉพาะในบริเวณขา
และท่านจะต้องจัดการกับโรคทุกชนิดที่มีส่วนสัมพันธ์กับโรคเส้นเลือดแดงส่วน
ปลายของท่าน เป็นต้นว่า โรคความดันโลหิตสูล, โรคเบาหวาน, และโรคอื่น ๆ...
โดยแพทย์ของท่านจะเป็นผู้รักษา และตรวจสอบโรคดังกล่าวอย่างใกล้ชิด
การรักษาด้วยยา (Drug Treatment/Medications):
ในคนไข้โรคเส้นเลือดแดงส่วนปลาย...
เราจะพบว่า มียาที่ถูกนำมาใช้รักษาในคนไข้ดังกล่าว ซึ่งแพทย์จะสั่งให้แก่ื่ท่าน
ซึ่งท่านจำเป็นต้องทราบเอาไว้ :
Aspirin เป็นยาสำหรับทำให้เลือดไหลสะดวกขึ้น (blood thinner)
โดยทำหน้าที่ต่อต้านการจับตัวของเม็ดเลือด ทำให้เลือดไหลผ่าน
เส้นเลือดที่ตีบแคบได้ง่ายขึ้น
Aspirin ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมอง แลหัวใจขาดเลือด
รวมไปถึงโรคอื่น ๆ ที่เกิดจากการเกิดลิ่มเลือด
ยาอย่างอื่นๆ อาจถูกนำมาใช้ในการบรรเทาอาการปวดที่เกิดเส้นเลือด
ตีบตัน โดยออกฤทธิ์ทำให้เส้นเลือดแดงของขาเกิดการขยายตัว
ยาลดระดับไขมันแคลอเลสเตอรอง (statins) สามารถป้องกันไม่ให้มี
คราบไขมันไปเกาะที่ผนังของเส้นเลือดจากระดับไขมัน cholesterol สูง
ใช้ยาลดความดันโลหิตสูงในกรณี ที่มีโรคดังกล่าว
การรักษาด้วยการผ่าตัด (Surgery)
ถ้าโรคเส้นเลือดแดงของท่านมีความรุนแรง หรือการรักษาด้วยการใช้ยา
และบริหารร่างกาย ไม่สามารถช่วยเหลือท่านได้ แพทย์อาจแนะนำให้ท่าน
ได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัด
Angioplasty
Credit : http://ccvsa.com/
เป็นการผ่าตัดเส้นเลือดด้วยการสอดใส่ท่อยาง (catheter tube) เข้า
ไปในเส้นเลือดแดงที่ตีบตัน โดยการทำให้เส้นเลือดเกิดการขยายตัว
เพื่อให้เลือดไหลผ่านได้ดีขึ้น ซึ่งกระทำได้ด้วยการใช้บอลลูนที่พอง
ตัวขึ้น ทำให้เส้นเลือดตีบแคบเปิด หรือสอดใส่ และวางขดลวด (stent) เพื่อ
ป้องกันไม่ให้เส้นเลือดตีบแคบได้อีก
การผ่าตัดบายพาส (Bypass Surgery )
Credit : www.mayoclinic.com
เป็นการผ่าตัดทำทางเบี่ยงให้แก่การไหลเวียของเลือดผ่านบริเวณอุดตัน
ในเส้นเลือดแดง ซึ่งกระทำได้ด้วยการใช้เส้นเลือดจากที่อื่นของร่างกาย
หรือใช้ท่อสังเคราะห์ขึ้น เพื่อให้เลือดไปเลียงอวัยวะที่อยู่ปลายต่อบริเวณ
อุดตันได้
<< PREV. NEXT >> Peripheral artery disease: Surgery
Care & Treatment
เมื่อท่านได้รับการวินิจฉัยว่า เป็นโรคเส้นเลือดแดงส่วนปลาย...
สิ่งแรกที่ท่านจะต้องกระทำ:
เลิกสูบบุหรี่ทันที
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับทานอาหาร ด้วยการลดปริมาณไขมันในอาหาร
และลดระดับคลอเลสเตอรองในเลือดลง
เริ่มบริหารร่างกายด้วยการเดิน หรือออกกำลังกายตามที่ได้กำหนดไว้
เพราะการออกกำลังกายเป็นกรรมวิธีทำให้การไหลเวียนของเลือดได้ดีที่สุด
โดยเฉพาะในบริเวณขา
และท่านจะต้องจัดการกับโรคทุกชนิดที่มีส่วนสัมพันธ์กับโรคเส้นเลือดแดงส่วน
ปลายของท่าน เป็นต้นว่า โรคความดันโลหิตสูล, โรคเบาหวาน, และโรคอื่น ๆ...
โดยแพทย์ของท่านจะเป็นผู้รักษา และตรวจสอบโรคดังกล่าวอย่างใกล้ชิด
การรักษาด้วยยา (Drug Treatment/Medications):
ในคนไข้โรคเส้นเลือดแดงส่วนปลาย...
เราจะพบว่า มียาที่ถูกนำมาใช้รักษาในคนไข้ดังกล่าว ซึ่งแพทย์จะสั่งให้แก่ื่ท่าน
ซึ่งท่านจำเป็นต้องทราบเอาไว้ :
Aspirin เป็นยาสำหรับทำให้เลือดไหลสะดวกขึ้น (blood thinner)
โดยทำหน้าที่ต่อต้านการจับตัวของเม็ดเลือด ทำให้เลือดไหลผ่าน
เส้นเลือดที่ตีบแคบได้ง่ายขึ้น
Aspirin ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมอง แลหัวใจขาดเลือด
รวมไปถึงโรคอื่น ๆ ที่เกิดจากการเกิดลิ่มเลือด
ยาอย่างอื่นๆ อาจถูกนำมาใช้ในการบรรเทาอาการปวดที่เกิดเส้นเลือด
ตีบตัน โดยออกฤทธิ์ทำให้เส้นเลือดแดงของขาเกิดการขยายตัว
ยาลดระดับไขมันแคลอเลสเตอรอง (statins) สามารถป้องกันไม่ให้มี
คราบไขมันไปเกาะที่ผนังของเส้นเลือดจากระดับไขมัน cholesterol สูง
ใช้ยาลดความดันโลหิตสูงในกรณี ที่มีโรคดังกล่าว
การรักษาด้วยการผ่าตัด (Surgery)
ถ้าโรคเส้นเลือดแดงของท่านมีความรุนแรง หรือการรักษาด้วยการใช้ยา
และบริหารร่างกาย ไม่สามารถช่วยเหลือท่านได้ แพทย์อาจแนะนำให้ท่าน
ได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัด
Angioplasty
Credit : http://ccvsa.com/
เป็นการผ่าตัดเส้นเลือดด้วยการสอดใส่ท่อยาง (catheter tube) เข้า
ไปในเส้นเลือดแดงที่ตีบตัน โดยการทำให้เส้นเลือดเกิดการขยายตัว
เพื่อให้เลือดไหลผ่านได้ดีขึ้น ซึ่งกระทำได้ด้วยการใช้บอลลูนที่พอง
ตัวขึ้น ทำให้เส้นเลือดตีบแคบเปิด หรือสอดใส่ และวางขดลวด (stent) เพื่อ
ป้องกันไม่ให้เส้นเลือดตีบแคบได้อีก
การผ่าตัดบายพาส (Bypass Surgery )
Credit : www.mayoclinic.com
เป็นการผ่าตัดทำทางเบี่ยงให้แก่การไหลเวียของเลือดผ่านบริเวณอุดตัน
ในเส้นเลือดแดง ซึ่งกระทำได้ด้วยการใช้เส้นเลือดจากที่อื่นของร่างกาย
หรือใช้ท่อสังเคราะห์ขึ้น เพื่อให้เลือดไปเลียงอวัยวะที่อยู่ปลายต่อบริเวณ
อุดตันได้
<< PREV. NEXT >> Peripheral artery disease: Surgery
ปัญหาการไหลเวียนเลือดในคนสูงวัย P. 3 peripheral artery disease: Symptoms
Aug. 28, 2013
คนเป็นโรคเส้นเลือดแดงจะมาด้วยอาการปวดที่บริเวณน่อง (calves),
ต้นขา (thighs), หรือก้นหย่อน (buttock) ซึ่งมักจะเกิดในขณะ
ที่กล้ามเนื้อมีการออกแรง
ในบางครั้ง ท่านอาจมีอาการปวดแสบปวดร้อน หรือรู้สึกปวดร้าว
และหากโรคเส้นเลือดมีการอุดต้นอย่างรุนแรง มันสามารถทำให้เกิด
มีอาการดังกล่าวได้ทั้งๆ ที่อยู่ในขณะพักผ่อน
โดยเฉพาะเมื่อท่านนอนพักผ่อนในเวลากลางคืน
ท่านอาจมีอาการปวดขา ซึ่งมีลักษณะเกิดขึ้นแล้วก็หายไป
หรือมันอาจหายไปเมื่อท่านหยุดจากการออกแรง
อาการปวดที่เกิด เขาเรียกว่า intermittent claudication
ผิวหนังเปลี่ยนทั้งสี (color) และความหยาละเอียดของผิวหนัง
โดยเฉพาะตรงบริเวณขา หรือเท้า ซึ่งมีลักษณะเปราะ บาง...
มีอาการชาที่ขา, หนักขา หรืออ่อนแรง
เท้า และขาเย็น (coldness) และสีผิวหนังเปลี่ยนเป็นดำคล้ำ
แผลที่เท้า และขาจะหายได้ช้า
ขนที่ขาจะหายไป
เล็กบเท้าหนาผิดปกติ และ
สมรรถภาพทางเพศเสียไป
ในบางครั้ง...
ในคนที่เป็นโรคเส้นเลือดแดง (peripheral artery disease) เกิดมีลิ่มเลือด
อุดตันการไหลเวียนของเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะถูกตัดขาด
เป็นเหตุให้เนื้อเยื่อถูกทำลายลง...
ในกรณีที่ท่านเกิดมีอาการปวดขาอย่างฉับพลัน
ท่านจะต้องไปพบแพทย์อย่างรีบด่วน เพื่อป้องกันไม่ให้เนื้อเยื่อถูกทำลาย
กระแสไหลเวียนของเลือดไปยังขา และเท้า ของคนสูงวัย
อาจลดน้อยลง สามารถทำให้ความรู้สึกเจ็บปวดลดน้อยลง ประกอบกับ
สายตาฟ้าฟาง เป็นเหตุให้มองไม่เห็นความผิดปกติที่ผิวหนังของขา และเท้าได้
ดังนั้น หากไม่ระมัดระวัง อาจเป็นต้องเหตุให้เนื้อเยื่อถูกทำลายได้อย่างรุนแรง
ในคนสูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานด้วย...เขาอาจมีความเสี่ยงต่ออันตราย
จากโรคเส้นเลือดแดงส่วนปลายได้ ทั้งนี้เพราะตัวโรคเบาหวานเอง เป็น
ตัวการทำลายเส้นประสาท และสายตาของคนสูงอายุไป
ดังนั้น เพื่อความปลอดภัยของท่านเอง ...ท่านต้องแน่ใจด้วยว่า แพทย์
ได้ทำการตรวจเช็คเท้าของท่าน และการไหลเวียนของเลือดในบริเวณ
เท้าของท่านให้บ่อย ขึ้น
<< PREV NEXT >> P. 4 (Peri[heral artery disease): Care & Treatment
คนเป็นโรคเส้นเลือดแดงจะมาด้วยอาการปวดที่บริเวณน่อง (calves),
ต้นขา (thighs), หรือก้นหย่อน (buttock) ซึ่งมักจะเกิดในขณะ
ที่กล้ามเนื้อมีการออกแรง
ในบางครั้ง ท่านอาจมีอาการปวดแสบปวดร้อน หรือรู้สึกปวดร้าว
และหากโรคเส้นเลือดมีการอุดต้นอย่างรุนแรง มันสามารถทำให้เกิด
มีอาการดังกล่าวได้ทั้งๆ ที่อยู่ในขณะพักผ่อน
โดยเฉพาะเมื่อท่านนอนพักผ่อนในเวลากลางคืน
ท่านอาจมีอาการปวดขา ซึ่งมีลักษณะเกิดขึ้นแล้วก็หายไป
หรือมันอาจหายไปเมื่อท่านหยุดจากการออกแรง
อาการปวดที่เกิด เขาเรียกว่า intermittent claudication
ผิวหนังเปลี่ยนทั้งสี (color) และความหยาละเอียดของผิวหนัง
โดยเฉพาะตรงบริเวณขา หรือเท้า ซึ่งมีลักษณะเปราะ บาง...
มีอาการชาที่ขา, หนักขา หรืออ่อนแรง
เท้า และขาเย็น (coldness) และสีผิวหนังเปลี่ยนเป็นดำคล้ำ
แผลที่เท้า และขาจะหายได้ช้า
ขนที่ขาจะหายไป
เล็กบเท้าหนาผิดปกติ และ
สมรรถภาพทางเพศเสียไป
ในบางครั้ง...
ในคนที่เป็นโรคเส้นเลือดแดง (peripheral artery disease) เกิดมีลิ่มเลือด
อุดตันการไหลเวียนของเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะถูกตัดขาด
เป็นเหตุให้เนื้อเยื่อถูกทำลายลง...
ในกรณีที่ท่านเกิดมีอาการปวดขาอย่างฉับพลัน
ท่านจะต้องไปพบแพทย์อย่างรีบด่วน เพื่อป้องกันไม่ให้เนื้อเยื่อถูกทำลาย
กระแสไหลเวียนของเลือดไปยังขา และเท้า ของคนสูงวัย
อาจลดน้อยลง สามารถทำให้ความรู้สึกเจ็บปวดลดน้อยลง ประกอบกับ
สายตาฟ้าฟาง เป็นเหตุให้มองไม่เห็นความผิดปกติที่ผิวหนังของขา และเท้าได้
ดังนั้น หากไม่ระมัดระวัง อาจเป็นต้องเหตุให้เนื้อเยื่อถูกทำลายได้อย่างรุนแรง
ในคนสูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานด้วย...เขาอาจมีความเสี่ยงต่ออันตราย
จากโรคเส้นเลือดแดงส่วนปลายได้ ทั้งนี้เพราะตัวโรคเบาหวานเอง เป็น
ตัวการทำลายเส้นประสาท และสายตาของคนสูงอายุไป
ดังนั้น เพื่อความปลอดภัยของท่านเอง ...ท่านต้องแน่ใจด้วยว่า แพทย์
ได้ทำการตรวจเช็คเท้าของท่าน และการไหลเวียนของเลือดในบริเวณ
เท้าของท่านให้บ่อย ขึ้น
<< PREV NEXT >> P. 4 (Peri[heral artery disease): Care & Treatment
ปัญหาการไหลเวียนเลือดในคนสูงวัย P. 2 Peripheral artery disease: Causes
Aug. 28, 2013
หากเราทราบถึงต้นเหตุทำให้เกิดโรคเส้นเลือดแดง...
คงไม่เป็นการยากที่จะทำการป้องกันภาวะดังกล่าวได้
Credit : http://www.targetpad.co.uk
สาเหตุส่วนใหญ่ของโรคเส้นเลือดแดงส่วนปลาย คือ ภาวะผนังของเส้นเลือด
แดงมีคราบไขมันเกาะตัวเต็มไปหมด ถูกเรียกว่า atherosclerois
ซึ่งเป็นเหตุทำให้ผนังเส้นเลือดแดงหนาตัว ทำให้เส้นเลือดเกิดแข็งตัว
และแคบลง เป็นเหตุให้เลือดไปหล่อเลี้ยงอวัยวะส่วนปลายลดลง...
นอกจากนั้น ยังมีสาเหตุอย่างอื่น (พบได้น้อยกว่า) ที่ทำให้เกิดโรคเส้นเลือด
แดงได้แก่ :
การอักเสบของเส้นเลือดแดง หรือ การอักเสบติดเชื้อของเส้นเลือด
แดงโดยตรง
ได้รับบาดเจ็บที่บริเวณแขน และขา
มีความผิดปกติทางสรีระของเส้นเลือด, กล้ามเนื้อ และเส้นเอ็น
มีปัจจัยเสี่ยงหลายอย่างที่ทำใหเกิดโรคเส้นเลือดแดงส่วนปลาย
ได้แก่:
อายุ (Age)
เพศชาย
มีประวัติครอบครัว่าเป็นโรคต่างๆ เช่น โรคความดันโลหิตสูง,
โรคหัวใจ, สมองขาดเลือด, หรือปัญหาเกี่ยวกับการไหลเวียนของเลือด
สูบบุหรี่
โรคอ้วน
โรคความดันโลหิตสูง
ไขมันคลอเลสเตอรอลในเลือดสูง
โรคเบาหวาน
เราจะพบว่า โรคเส้นเลือดแดงส่วนปลายพบได้ 5 % ของคนวัยผู้ใหญ่
ซึ่งมีอายุมากกว่า 50 แต่พออายุได้มากกว่า 70
มีโอกาสเกิดโรคดังกล่าวได้ถึง 20 %
<< PREV. NEXT >> P. 3 Circulation problems : Symptoms
หากเราทราบถึงต้นเหตุทำให้เกิดโรคเส้นเลือดแดง...
คงไม่เป็นการยากที่จะทำการป้องกันภาวะดังกล่าวได้
Credit : http://www.targetpad.co.uk
สาเหตุส่วนใหญ่ของโรคเส้นเลือดแดงส่วนปลาย คือ ภาวะผนังของเส้นเลือด
แดงมีคราบไขมันเกาะตัวเต็มไปหมด ถูกเรียกว่า atherosclerois
ซึ่งเป็นเหตุทำให้ผนังเส้นเลือดแดงหนาตัว ทำให้เส้นเลือดเกิดแข็งตัว
และแคบลง เป็นเหตุให้เลือดไปหล่อเลี้ยงอวัยวะส่วนปลายลดลง...
นอกจากนั้น ยังมีสาเหตุอย่างอื่น (พบได้น้อยกว่า) ที่ทำให้เกิดโรคเส้นเลือด
แดงได้แก่ :
การอักเสบของเส้นเลือดแดง หรือ การอักเสบติดเชื้อของเส้นเลือด
แดงโดยตรง
ได้รับบาดเจ็บที่บริเวณแขน และขา
มีความผิดปกติทางสรีระของเส้นเลือด, กล้ามเนื้อ และเส้นเอ็น
มีปัจจัยเสี่ยงหลายอย่างที่ทำใหเกิดโรคเส้นเลือดแดงส่วนปลาย
ได้แก่:
อายุ (Age)
เพศชาย
มีประวัติครอบครัว่าเป็นโรคต่างๆ เช่น โรคความดันโลหิตสูง,
โรคหัวใจ, สมองขาดเลือด, หรือปัญหาเกี่ยวกับการไหลเวียนของเลือด
สูบบุหรี่
โรคอ้วน
โรคความดันโลหิตสูง
ไขมันคลอเลสเตอรอลในเลือดสูง
โรคเบาหวาน
เราจะพบว่า โรคเส้นเลือดแดงส่วนปลายพบได้ 5 % ของคนวัยผู้ใหญ่
ซึ่งมีอายุมากกว่า 50 แต่พออายุได้มากกว่า 70
มีโอกาสเกิดโรคดังกล่าวได้ถึง 20 %
<< PREV. NEXT >> P. 3 Circulation problems : Symptoms
ปัญหาการไหลเวียนเลือดในคนสูงวัย P. 1 Peripheral artery disease : Basic Facts & Information
Aug. 28, 2013
เมื่อเรามองไปยังสนามหญ้าหน้าบ้าน...
มองดูสายยางรดหญ้าเส้นเก่า...เห็นรอยรั่วให้น้ำไหลซึมออกเพราะการเสื่อม
สภาพตามอายุการใช้งานฉันใด...เส้นเลือดของคนสูงวัย คงไม่แตกต่างจาก
สายยางรดหญ้าเท่าใดนัก
Credit : http://www.drugs.com/health-guide/
จากสถิติของชาวสหรัฐฯ...
ในคนวัยเลย 65 ขึ้นไป จะพบว่า หนึ่งในจำนวนห้าราย จะมีปัญหาทางการ
ไหลเวียนของเลือดได้บ่อย ซึ่งถูกเรียกว่า peripheral artery disease (PAD)
ในกรณีดังกล่าว...
เราจะพบว่า เส้นเลือดแดงแคบลง และเกิดมีการอุดต้น
ส่วนใหญ่จะพบเส้นเลือดแดงตรงบริเวณกระดูกเชิงกราน และขาทั้งสอง
เมื่อเกิดเป็นโรคดังกล่าว จะทำให้การไหลเวียนของเลือด และออกซิเจน
ที่ส่งไปยังขา และแขนทั้งสองลดลง และดูเหมือนว่า มันจะมีความสัมพันธ์
ภาวะหัวใจ และสมองขาดเลือด (heart attack & stroke)
โดยทั่วไปโรคเส้นเลือดแดง มักจะเกิดร่วมกับโรคหลอดเลือดหัวใจ
ซึ่งทั้งสองโรคต่างมีต้นเหตุเหมือนกัน นั่นคือ การมีไขมัน cholesterol สะสม
ตามผนังเส้นเลือดแดง จนทำให้มันเกิดการตีบแคบ และมีการอุดตันในที่สุด
(ภาวะดังกล่าว มีฃื่อให้รียกว่า atherosclerosis)
เราทุกคนสามารถป้องกัน หรือชะลอไม่ให้เกิดโรคเส้นเลือดแดงได้ โดย:
ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
เลิกสูบบุหรี่
รับประทานอาหารที่ให้สุขภาพ มีไขมันอิ่มตัวต่ำ
ควบคุมระดับความดันโลหิต, น้ำหนักตัว และไขมันให้อยู่ในระดับปกติ
ถ้าท่านเป็นเบาหวาน ท่านต้องควบคุมระดับน้ำตาลให้อยู่ในระดับปกติ
NEXT >> Peripheral artery disease P. 2 : Causes & Symptoms
เมื่อเรามองไปยังสนามหญ้าหน้าบ้าน...
มองดูสายยางรดหญ้าเส้นเก่า...เห็นรอยรั่วให้น้ำไหลซึมออกเพราะการเสื่อม
สภาพตามอายุการใช้งานฉันใด...เส้นเลือดของคนสูงวัย คงไม่แตกต่างจาก
สายยางรดหญ้าเท่าใดนัก
Credit : http://www.drugs.com/health-guide/
จากสถิติของชาวสหรัฐฯ...
ในคนวัยเลย 65 ขึ้นไป จะพบว่า หนึ่งในจำนวนห้าราย จะมีปัญหาทางการ
ไหลเวียนของเลือดได้บ่อย ซึ่งถูกเรียกว่า peripheral artery disease (PAD)
ในกรณีดังกล่าว...
เราจะพบว่า เส้นเลือดแดงแคบลง และเกิดมีการอุดต้น
ส่วนใหญ่จะพบเส้นเลือดแดงตรงบริเวณกระดูกเชิงกราน และขาทั้งสอง
เมื่อเกิดเป็นโรคดังกล่าว จะทำให้การไหลเวียนของเลือด และออกซิเจน
ที่ส่งไปยังขา และแขนทั้งสองลดลง และดูเหมือนว่า มันจะมีความสัมพันธ์
ภาวะหัวใจ และสมองขาดเลือด (heart attack & stroke)
โดยทั่วไปโรคเส้นเลือดแดง มักจะเกิดร่วมกับโรคหลอดเลือดหัวใจ
ซึ่งทั้งสองโรคต่างมีต้นเหตุเหมือนกัน นั่นคือ การมีไขมัน cholesterol สะสม
ตามผนังเส้นเลือดแดง จนทำให้มันเกิดการตีบแคบ และมีการอุดตันในที่สุด
(ภาวะดังกล่าว มีฃื่อให้รียกว่า atherosclerosis)
เราทุกคนสามารถป้องกัน หรือชะลอไม่ให้เกิดโรคเส้นเลือดแดงได้ โดย:
ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
เลิกสูบบุหรี่
รับประทานอาหารที่ให้สุขภาพ มีไขมันอิ่มตัวต่ำ
ควบคุมระดับความดันโลหิต, น้ำหนักตัว และไขมันให้อยู่ในระดับปกติ
ถ้าท่านเป็นเบาหวาน ท่านต้องควบคุมระดับน้ำตาลให้อยู่ในระดับปกติ
NEXT >> Peripheral artery disease P. 2 : Causes & Symptoms
วันอาทิตย์ที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2556
ปัญหาการเสียดุลของคนสูงอายุ P. 8 (balance problemin elderly): Lifestyle & Management
Aug. 25, 2013
เมื่อท่านมีปัญหาการเสียดุล...
มีวิธีการง่ายๆ ซึ่งหากท่านทำแล้ว สามารถลดผลกระทบจากภาวะเสียดุล
ได้ หรือลดอาการวิงเวียนลงได้
เคล็ดลับสำหรับใช้ป้องกันการสูญเสียความสมดุล:
เมื่อท่านเกิดมีอาการวิงเวียน ให้นั่งลง หรือนอนราบทันที
ในระหว่างที่มีอาการวิงเวียน บ้านหมุน ให้หลีกเลี่ยงการใช้สิ่งของ
ซึ่งสามารถทำให้ความรู้สึกเลวลง ให้เคลื่อนตัวอย่างช้า ๆ และ
หลีกเลี่ยงการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งศีรษะ
พยายามพักสายตา และหลีกเลี่ยงจากการมองแสงจ้า
อย่าพยายามอ่านหนังสือ
ให้พยายามพักผ่อนให้มากที่สุดที่จะมากได้ อย่าพยายามกลับไป
ทำงานในช๊วิตประจำวัน จนกว่าอาการจะกลับสู่สภาพปกติ
ให้งดการสูบบุหรี่
หลีกเลี่ยงจากปัจจัยที่จะทำให้เกิดอาการคัดจมูก
พยายามควบคุมความเครียด และความวิตกกังวล ซึ่งท่านสามารถ
ใช้ยา หรือจิตบำบัด
การบริหารร่างกาย (Exercise)
มีนักวิจัยจำนวนไม่น้อยพบว่า การบริหาร และกลวิธี่ต่อไปนี้สามารถ
ทำให้ความสมดุลของท่านดีขึ้น และลดความเสี่ยงจากการหกล้มได้
บำบัดด้วยวิธี Tai Chi หรือฝึกโยคะ
ฝึกการเดิน (Gait training)
บริหารร่างกายเพื่อความแข็งแรงของร่างกาย
การฟื้นฟูการทรงตัว (vestibular rehabilatation therapy)
เป็นกรรมวิธีเพื่อทำให้ร่างกาย และสมองสามารถทำงานร่วม
กัน เพื่อทำให้การทรงตัวดีขึ้น
ปรับเปลี่ยนเรื่องอาหารการกิน (Dietary Adjustments)
มีการเปลี่ยนแปลงเรื่องอาหารการกิน อาจมีประโยชน์ได้
โดยทั่วไป ท่านควรรับปทานอาหารที่ให้สุขภาพ, ดืมน้ำให้มาก,
หลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์
ถ้าท่านเป็นโรค Meniere’s disease... ท่านควร:
o หลีกเลี่ยงสารที่เป็นคาเฟอีน (ซึงมีอยู่ในกาแฟ,ชา,ชอคโคแลท)
เพราะมันสามารถกระตุ้นให้อาการเสียงในหูเลวลง
o รับทานอาหารในปริมาณน้อย แต่หลายครั้งต่อวัน
o ลดปริมาณเกลือในอาหารลง ให้น้อยกว่า 1500 mg เพื่อไม่ให้มีน้ำคั่ง
o หลีกเลี่ยงไม่รับทานผงชูรส (monosodium glutamate)
ซึ่งอาจทำให้มี่น้ำคั่งในร่างกายได้
หลีกเลี่ยงจากภาวะแทรกซ้อน:
เพือป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน ซึ่งอาจเกิดขึ้นจากการเสียความ
สมดุล โดยเฉพาะในคนสูงอายุ คือการหกล้ม กระดูกแตกหักเป็นอันตราย
ต่อชี่วิตได้ มีวิธีการง่าย ๆ ซึ่งท่านสามารถปรับเปลี่ยนได้ ดังนี้:
ให้มีแสงสว่างพอ
กำจัดเอาสิ่งของที่เป็นอุปสรรค และเป็นอันตรายออกทิ้งไป หรือแก้ไขให้ดี
เช่นพรมปูพื้นที่ไม่แน่น, ปลักไฟฟ้า, เฟอรนิเจอร์ชำรุด
หากจำเป็นต้องติดตั้งราวจับไว้ที่บ้าน เพื่อช่วยในการเดินไม่ให้หกล้ม
การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตอย่างอื่น ซี่งสามารถลดความเสี่ยงต่อการหกล้มได้
เช่น:
สรวมรองเท้าที่เหมาะสม
ใช้ยารักษาได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม
บริหารร่างกายอย่างสม่ำเสมอ รวมถึงโปรแกรมช่วยทำให้การเคลื่อน
ไหวดีขึ้น
<< Prev
www.healthinaging.org
เมื่อท่านมีปัญหาการเสียดุล...
มีวิธีการง่ายๆ ซึ่งหากท่านทำแล้ว สามารถลดผลกระทบจากภาวะเสียดุล
ได้ หรือลดอาการวิงเวียนลงได้
เคล็ดลับสำหรับใช้ป้องกันการสูญเสียความสมดุล:
เมื่อท่านเกิดมีอาการวิงเวียน ให้นั่งลง หรือนอนราบทันที
ในระหว่างที่มีอาการวิงเวียน บ้านหมุน ให้หลีกเลี่ยงการใช้สิ่งของ
ซึ่งสามารถทำให้ความรู้สึกเลวลง ให้เคลื่อนตัวอย่างช้า ๆ และ
หลีกเลี่ยงการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งศีรษะ
พยายามพักสายตา และหลีกเลี่ยงจากการมองแสงจ้า
อย่าพยายามอ่านหนังสือ
ให้พยายามพักผ่อนให้มากที่สุดที่จะมากได้ อย่าพยายามกลับไป
ทำงานในช๊วิตประจำวัน จนกว่าอาการจะกลับสู่สภาพปกติ
ให้งดการสูบบุหรี่
หลีกเลี่ยงจากปัจจัยที่จะทำให้เกิดอาการคัดจมูก
พยายามควบคุมความเครียด และความวิตกกังวล ซึ่งท่านสามารถ
ใช้ยา หรือจิตบำบัด
การบริหารร่างกาย (Exercise)
มีนักวิจัยจำนวนไม่น้อยพบว่า การบริหาร และกลวิธี่ต่อไปนี้สามารถ
ทำให้ความสมดุลของท่านดีขึ้น และลดความเสี่ยงจากการหกล้มได้
บำบัดด้วยวิธี Tai Chi หรือฝึกโยคะ
ฝึกการเดิน (Gait training)
บริหารร่างกายเพื่อความแข็งแรงของร่างกาย
การฟื้นฟูการทรงตัว (vestibular rehabilatation therapy)
เป็นกรรมวิธีเพื่อทำให้ร่างกาย และสมองสามารถทำงานร่วม
กัน เพื่อทำให้การทรงตัวดีขึ้น
ปรับเปลี่ยนเรื่องอาหารการกิน (Dietary Adjustments)
มีการเปลี่ยนแปลงเรื่องอาหารการกิน อาจมีประโยชน์ได้
โดยทั่วไป ท่านควรรับปทานอาหารที่ให้สุขภาพ, ดืมน้ำให้มาก,
หลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์
ถ้าท่านเป็นโรค Meniere’s disease... ท่านควร:
o หลีกเลี่ยงสารที่เป็นคาเฟอีน (ซึงมีอยู่ในกาแฟ,ชา,ชอคโคแลท)
เพราะมันสามารถกระตุ้นให้อาการเสียงในหูเลวลง
o รับทานอาหารในปริมาณน้อย แต่หลายครั้งต่อวัน
o ลดปริมาณเกลือในอาหารลง ให้น้อยกว่า 1500 mg เพื่อไม่ให้มีน้ำคั่ง
o หลีกเลี่ยงไม่รับทานผงชูรส (monosodium glutamate)
ซึ่งอาจทำให้มี่น้ำคั่งในร่างกายได้
หลีกเลี่ยงจากภาวะแทรกซ้อน:
เพือป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน ซึ่งอาจเกิดขึ้นจากการเสียความ
สมดุล โดยเฉพาะในคนสูงอายุ คือการหกล้ม กระดูกแตกหักเป็นอันตราย
ต่อชี่วิตได้ มีวิธีการง่าย ๆ ซึ่งท่านสามารถปรับเปลี่ยนได้ ดังนี้:
ให้มีแสงสว่างพอ
กำจัดเอาสิ่งของที่เป็นอุปสรรค และเป็นอันตรายออกทิ้งไป หรือแก้ไขให้ดี
เช่นพรมปูพื้นที่ไม่แน่น, ปลักไฟฟ้า, เฟอรนิเจอร์ชำรุด
หากจำเป็นต้องติดตั้งราวจับไว้ที่บ้าน เพื่อช่วยในการเดินไม่ให้หกล้ม
การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตอย่างอื่น ซี่งสามารถลดความเสี่ยงต่อการหกล้มได้
เช่น:
สรวมรองเท้าที่เหมาะสม
ใช้ยารักษาได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม
บริหารร่างกายอย่างสม่ำเสมอ รวมถึงโปรแกรมช่วยทำให้การเคลื่อน
ไหวดีขึ้น
<< Prev
www.healthinaging.org
ปัญหาการเสียดุลของคนสูงอายุ P. 7 (balance problemin elderly): Care & Treatment
Aug. 25, 2013
ในการรักษาภาวะการเสียความสมดุลของท่าน ต้องคำนึงถึงสาเหตุที่ทำให้เกิด
ภาวะดังกล่าว รวมถึงประวัติการเกิดโรค และสุขภาพโดยรวมของท่าน
ซึ่งมี่วิธีการมากมาย และส่วนมากมีการบำบัดที่ง่าย และมีประสิทธิภาพ
สำหรับรักษาโรคดังกล่าว
Benign Positional Paroxysmal Vertigo (BPPV)
วิธีการรักษา ที่ถูกนำมาใช้รักษาภาวะ BPPV ที่ได้ผลดี โดยไม่จำเป็นต้องพึงพายา
มีชื่อเรียกว่า Apley maneuver อีกชื่อหนึ่งเรียกว่า canalith repositioningPorcedure...
เป็นกลวิธีทำให้ร่างกายเคลื่อนไหวร่างกาย และศีรษะ
:ซึ่งต้องกำเนินไปอย่างช้า ๆ จากท่านหนึ่งสู่อีกท่านหนึ่งเป็นชุด ด้วยหวังว่า
ต้นเหตุที่ทำให้เกิดอาการดังกล่าวจะเคลื่อนกลับสู่ที่เดิม
Apley maneuver ถูกออกแบบมาเพื่อทำให้ผลึกของ calcium carbonate
ที่หลุดเข้าไปอยู่ในท่อครึ่งวงกลม ให้เคลื่อนกลับที่เดิม
เป็นวิธีที่ง่าย ๆ ไม่ทำให้คนไข้ได้รับความเจ็บปวดแต่อย่างใด
แต่ละเซท... ใช้เวลาไม่กี่นาที แต่อาจต้องทำสองสามครั้ง
หลังท่านกลับบ้านไป...ท่านต้องให้ศีรษะของท่านอยู่เหนื้อระดับ
ไหล่ (ห้ามนอนราบ) ตลอดทั้งวัน ในตอนกลางคืนโดยนอนหนุนหมอนให้สูง
กว่าปกติเล็กน้อย และในวันถัดไปอาการน่าจะดีขึ้น หลังจากนั้น ท่าน
สามารถดำเนืนชีวิตตามปกติ ไม่ต้องระวังเรื่องระดับของศีรษะอีกต่อไป
ภาวะ BPPV ส่วนใหญ่จะหายไปเองภายในสองสามวัน หรือสองสาม
อาทิตย์ และคนไข้กลุ่มนี้อาจไม่จำเป็นต้องใช้ยารักษาใด ๆ
Labyrinthitis
คนที่เป็นโรคหูชั้นในอักเสบ...
แพทย์มักจะสั่งยา meclizine (Antivert) เพื่อบรรเทาอาการ
วิงเวียน และอาการบ้านหมุนให้แก่ท่าน และบางที เขาอาจสั่ง
ยาประเภท methyprednisolone ให้แก่ท่านเพื่อลดการอักเสบ
ของหูชั้นในให้แก่ท่าน พร้อมกับการสั่งยาปฏิชีวนะด้วยก็ได้
อย่างไรก็ตาม ท่านที่เป็นโรคหูชั้นในอักเสบ (labyrinthitis) จะ
หายได้เองโดยไม่ต้องรักษา ดังนั้น ในรายที่ไม่รุนแรง ท่านอาจ
ใช้หลักการ “รอให้มันหายเอง” ได้
Meniere’s disease
คนที่เป็นโรค Meniere’s...
ถึงแม้ว่า มันจะเป็นโรคเรื้อรังก็ตาม อาการที่เกิดอาจไม่รุนแรง
ท่านสามารถทำงานในชิวิตประจำวันได้ตามปกติได้อย่างสบาย
ท่านอาจใช้ยา meclinizine เป็นยาสำหรับรักษาอาการคลื่นไส้,
วิงเวียน ซึ่งให้เหมือนกับคนที่เป็นโรค labyrinthitis
นอกจากนั้น แพทย์อาจให้ยาขับปัสสาวะ (diuretics) เพื่อช่วย
ลดปริมาณของน้ำในหูชั้นในลง และควรจำกัดอาหารรสเค็มลง
(วันหนึ่ง ไม่ควรรับทานเกลือมากกว่า1500 mg)
<< Prev Next >> P. 8 Balance Problem in Elderly: Care & management (continued)
ในการรักษาภาวะการเสียความสมดุลของท่าน ต้องคำนึงถึงสาเหตุที่ทำให้เกิด
ภาวะดังกล่าว รวมถึงประวัติการเกิดโรค และสุขภาพโดยรวมของท่าน
ซึ่งมี่วิธีการมากมาย และส่วนมากมีการบำบัดที่ง่าย และมีประสิทธิภาพ
สำหรับรักษาโรคดังกล่าว
Benign Positional Paroxysmal Vertigo (BPPV)
วิธีการรักษา ที่ถูกนำมาใช้รักษาภาวะ BPPV ที่ได้ผลดี โดยไม่จำเป็นต้องพึงพายา
มีชื่อเรียกว่า Apley maneuver อีกชื่อหนึ่งเรียกว่า canalith repositioningPorcedure...
เป็นกลวิธีทำให้ร่างกายเคลื่อนไหวร่างกาย และศีรษะ
:ซึ่งต้องกำเนินไปอย่างช้า ๆ จากท่านหนึ่งสู่อีกท่านหนึ่งเป็นชุด ด้วยหวังว่า
ต้นเหตุที่ทำให้เกิดอาการดังกล่าวจะเคลื่อนกลับสู่ที่เดิม
Apley maneuver ถูกออกแบบมาเพื่อทำให้ผลึกของ calcium carbonate
ที่หลุดเข้าไปอยู่ในท่อครึ่งวงกลม ให้เคลื่อนกลับที่เดิม
เป็นวิธีที่ง่าย ๆ ไม่ทำให้คนไข้ได้รับความเจ็บปวดแต่อย่างใด
แต่ละเซท... ใช้เวลาไม่กี่นาที แต่อาจต้องทำสองสามครั้ง
หลังท่านกลับบ้านไป...ท่านต้องให้ศีรษะของท่านอยู่เหนื้อระดับ
ไหล่ (ห้ามนอนราบ) ตลอดทั้งวัน ในตอนกลางคืนโดยนอนหนุนหมอนให้สูง
กว่าปกติเล็กน้อย และในวันถัดไปอาการน่าจะดีขึ้น หลังจากนั้น ท่าน
สามารถดำเนืนชีวิตตามปกติ ไม่ต้องระวังเรื่องระดับของศีรษะอีกต่อไป
ภาวะ BPPV ส่วนใหญ่จะหายไปเองภายในสองสามวัน หรือสองสาม
อาทิตย์ และคนไข้กลุ่มนี้อาจไม่จำเป็นต้องใช้ยารักษาใด ๆ
Labyrinthitis
คนที่เป็นโรคหูชั้นในอักเสบ...
แพทย์มักจะสั่งยา meclizine (Antivert) เพื่อบรรเทาอาการ
วิงเวียน และอาการบ้านหมุนให้แก่ท่าน และบางที เขาอาจสั่ง
ยาประเภท methyprednisolone ให้แก่ท่านเพื่อลดการอักเสบ
ของหูชั้นในให้แก่ท่าน พร้อมกับการสั่งยาปฏิชีวนะด้วยก็ได้
อย่างไรก็ตาม ท่านที่เป็นโรคหูชั้นในอักเสบ (labyrinthitis) จะ
หายได้เองโดยไม่ต้องรักษา ดังนั้น ในรายที่ไม่รุนแรง ท่านอาจ
ใช้หลักการ “รอให้มันหายเอง” ได้
Meniere’s disease
คนที่เป็นโรค Meniere’s...
ถึงแม้ว่า มันจะเป็นโรคเรื้อรังก็ตาม อาการที่เกิดอาจไม่รุนแรง
ท่านสามารถทำงานในชิวิตประจำวันได้ตามปกติได้อย่างสบาย
ท่านอาจใช้ยา meclinizine เป็นยาสำหรับรักษาอาการคลื่นไส้,
วิงเวียน ซึ่งให้เหมือนกับคนที่เป็นโรค labyrinthitis
นอกจากนั้น แพทย์อาจให้ยาขับปัสสาวะ (diuretics) เพื่อช่วย
ลดปริมาณของน้ำในหูชั้นในลง และควรจำกัดอาหารรสเค็มลง
(วันหนึ่ง ไม่ควรรับทานเกลือมากกว่า1500 mg)
<< Prev Next >> P. 8 Balance Problem in Elderly: Care & management (continued)
ปัญหาการเสียดุลของคนสูงอายุ P. 6 (balance problem in elderly): Anxiety Disorders
Aug. 25, 2013
เมื่อไรก็ตามที่คนเราปล่อยให้ความกครียดเข้าครอบงำ...
มันสามารถทำให้คนเราเสียความสมดุลได้ โดยเฉาะของคนสูงวัย
Lightheadedness หรือ อาการวิงเวียน ชนิดมีนศีรษะ
มีความรู้สึกคล้ายจะเป็นลม ( presyncope) สามารถเกิดจากภาวะวิตกกังวล
โดยเฉพาะเมื่อคนเราตกอยู่ในสภาพตื่นตระหนก, หรือมีการหายใจเร็วกว่าปกติ
รวมถึงภาวะจิตประสาทชนิดอื่น ๆ
Unsteadiness ภาวะไม่มั่นคง ...
เมื่อกล่าวถึงภาวะของการเสียดุล จะมีคำมากมายถูกนำมาใช้แทนกันได้
เป็นต้นว่า "การเสียความสมดุล", "การเสียการทรงตัว" หรือ "การเสียศูนย์"
ไม่ว่าท่านจะใช้คำใด....คงทำให้เราเข้าใจได้ตรงกัน
ความรู้สึกเสียศูนย์ จะเกิดขึ้นรวมกับความรู้สึกว่า“บ้านหมุน” (vertigo) และ
อาการวิงเวียนชนิดอื่น ๆ ซึ่งมีสาเหตุดังต่อไปนี้:
Inner ear problems: โรคในกลุ่มนี้ จะทำให้เกิดความรู้สึกเหมือน
ตัวลอยเหนือพ้นแบบเสียศูนย์ ซึ่งมักเกิดในตอนกลางคืน
Visual problems: ต้อกระจก, ต้อหิน, จอประสาทตาเสื่อม
(macular degeneration)
Numbness: เส้นประสาทของเท้า และขาเสื่อมจากเส้นประสาท
ถูกทำลาย ซึงเป็นผลมาจากโรคเบาหวาน, หรือจากอายุชรา..
เป็นเหตุให้เส้นประสาทไม่สามารถส่งคลื่นประสาทไปยังสมองได้
เป็นปกติ ทำให้เกิดการเสียศูนย์ได้
Other nerve problems: ปัญหาเกี่ยวกับระบบประสาทอย่างอื่น
เช่น Parkinson’s disease, ataxia, spinal cord disorder...
Joint and muscle problems: เช่น ข้ออักเสบ, ปวดข้อ, กล้าม
เนื้ออ่อนแรง...ต่างมีส่วนทำให้เกิดปัญหาด้านเสียความสมดุลได้
Medications: ในแต่ละวัน คนสูงอายุมีโอกาสรับทานยาหลายชนิด
(จากแพทย์สั่ง และซื้อกินเอง) สามารถทำให้เกิดปัญหากับความ
สมดุลของร่างกายได้ ยาที่ใช้ได้แก่:
• ยารักษาอาการชัก (anti-epileptic drugs)
• ยากล่อมประสาทsedatives and tranquilizers
• ยาลดความดันโลหิต (blood pressure medications)
• ยารักษาโรค “พาร์กินสัน” (drugs to treat Parkinson’s disease)
• ยารักษาอาการศึมเศร้า (some antidepressants)
• ยาขยายเส้นเลือดต่างๆ (nitroglycerin (a heart medicine)
if taken with erectile dysfunction drugs containing sildenafil (Viagra or Cialis)
• ยาแก้ปวด (narcotics )
• ยานอนหลับ (sleep medications)
ถ้ารับทานยาที่กล่าวมาร่วมกัน หรือรับทานรวมกับดื่มแอลกอฮอล สามารถ
ทำให้การเสียความสมดุลมีความรุนแรงมากขึ้นได้
<< Prev . Next >> : P. 7 Balance problems in Elderly : Care & Treatment
เมื่อไรก็ตามที่คนเราปล่อยให้ความกครียดเข้าครอบงำ...
มันสามารถทำให้คนเราเสียความสมดุลได้ โดยเฉาะของคนสูงวัย
Lightheadedness หรือ อาการวิงเวียน ชนิดมีนศีรษะ
มีความรู้สึกคล้ายจะเป็นลม ( presyncope) สามารถเกิดจากภาวะวิตกกังวล
โดยเฉพาะเมื่อคนเราตกอยู่ในสภาพตื่นตระหนก, หรือมีการหายใจเร็วกว่าปกติ
รวมถึงภาวะจิตประสาทชนิดอื่น ๆ
Unsteadiness ภาวะไม่มั่นคง ...
เมื่อกล่าวถึงภาวะของการเสียดุล จะมีคำมากมายถูกนำมาใช้แทนกันได้
เป็นต้นว่า "การเสียความสมดุล", "การเสียการทรงตัว" หรือ "การเสียศูนย์"
ไม่ว่าท่านจะใช้คำใด....คงทำให้เราเข้าใจได้ตรงกัน
ความรู้สึกเสียศูนย์ จะเกิดขึ้นรวมกับความรู้สึกว่า“บ้านหมุน” (vertigo) และ
อาการวิงเวียนชนิดอื่น ๆ ซึ่งมีสาเหตุดังต่อไปนี้:
Inner ear problems: โรคในกลุ่มนี้ จะทำให้เกิดความรู้สึกเหมือน
ตัวลอยเหนือพ้นแบบเสียศูนย์ ซึ่งมักเกิดในตอนกลางคืน
Visual problems: ต้อกระจก, ต้อหิน, จอประสาทตาเสื่อม
(macular degeneration)
Numbness: เส้นประสาทของเท้า และขาเสื่อมจากเส้นประสาท
ถูกทำลาย ซึงเป็นผลมาจากโรคเบาหวาน, หรือจากอายุชรา..
เป็นเหตุให้เส้นประสาทไม่สามารถส่งคลื่นประสาทไปยังสมองได้
เป็นปกติ ทำให้เกิดการเสียศูนย์ได้
Other nerve problems: ปัญหาเกี่ยวกับระบบประสาทอย่างอื่น
เช่น Parkinson’s disease, ataxia, spinal cord disorder...
Joint and muscle problems: เช่น ข้ออักเสบ, ปวดข้อ, กล้าม
เนื้ออ่อนแรง...ต่างมีส่วนทำให้เกิดปัญหาด้านเสียความสมดุลได้
Medications: ในแต่ละวัน คนสูงอายุมีโอกาสรับทานยาหลายชนิด
(จากแพทย์สั่ง และซื้อกินเอง) สามารถทำให้เกิดปัญหากับความ
สมดุลของร่างกายได้ ยาที่ใช้ได้แก่:
• ยารักษาอาการชัก (anti-epileptic drugs)
• ยากล่อมประสาทsedatives and tranquilizers
• ยาลดความดันโลหิต (blood pressure medications)
• ยารักษาโรค “พาร์กินสัน” (drugs to treat Parkinson’s disease)
• ยารักษาอาการศึมเศร้า (some antidepressants)
• ยาขยายเส้นเลือดต่างๆ (nitroglycerin (a heart medicine)
if taken with erectile dysfunction drugs containing sildenafil (Viagra or Cialis)
• ยาแก้ปวด (narcotics )
• ยานอนหลับ (sleep medications)
ถ้ารับทานยาที่กล่าวมาร่วมกัน หรือรับทานรวมกับดื่มแอลกอฮอล สามารถ
ทำให้การเสียความสมดุลมีความรุนแรงมากขึ้นได้
<< Prev . Next >> : P. 7 Balance problems in Elderly : Care & Treatment
ปัญหาการเสียดุลของคนสูงอายุ P. 5 (balance problemin elderly): Lightheadedness or “Near Fainting” (Presyncope)
Aug. 25, 2013
Lightheadedness หรือ ความรู้สึกวิงเวียน, หน้ามืดคล้ายจะเป็นลม
โดยไม่ศูนย์เสียความรู้สึกตัว(consciousness) บางที่เราเรียกว่า
presyncope จัดเป็นภาวะทีพบได้บ่อยที่สุดในคนสูงอายุ
ซึ่งมีโรคหลายอย่างทำให้เกิดมีอาการเช่นนั้น ที่พบได้บ่อยได้แก่:
โรคหัวใจ (heart disease) หรือโรคเบาหวาน (diabetes)
ความรู้สึกวิงเวียนหน้ามืด จะเป็นลม (lightheadedness)
สามารถทำให้เกิดการหกล้มในคนสูงอายุ
ดังนั้นจึงจำเป็นต้องทำการประเมินหาสาเหตุที่ทำให้เกิดอาการดังกล่าวให้ได้
สาเหตุที่ทำให้เกิดความรู้สึกดังกล่าว ซึ่งพบได้บ่อยที่สุดได้แก่
ความดันโลหิตลดต่ำลงทันที, ความผิดปกติในหูชั้นใน, หรือเกิดจาก
ความวิตกกังวล (Anxiety disorder)
การที่ระดับความดันโลหิตลดต่ำลงอย่างฉับพลัน...
ซึ่งจะเกิดขึ้นเมื่อท่านลุกขึ้นยืนขึ้นทันที มีชื่อให้เรียกว่า orthostatic หรือ
postural hypotension
การที่ระดับความดันลดต่ำแบบนี้ จะทำให้เกิดความรู้สึกวิงเวียน, หน้ามืด
เหมือนจะเป็นลม (lightheadedness) ซึ่งจะเกิดขึ้นได้ประมาณ 3 นาที
และจะมีอาการประมาณไม่กี่วินาที ถีงหลายนาที
นอกเหนือจากอาการวิงเวียน หน้ามืดดังกล่าวแล้ว...
ท่านอาจมีอาการคลื่นไส หน้าซีด และผิวหนังชื้นเย็น
การที่ท่านมีอาการเช่นนั้น เป็นเพราะว่า ในขณะทีท่านนั่งหรือนอน...
พบว่า ด้วยแรงถ่วงของโลก จะทำให้เลือดรวมตัวทีส่วนของขาทั้งสองข้าง
เมื่อท่านลุกขึ้นยืนอย่างรวดเร็ว ทำให้ปริมาณของเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ,
สมอง และสวนอื่นของร่างกายได้ไม่พอกับความต้องการ
จึงเป็นเหตุให้เกิดอาการขึ้น
โดยปกติ เมื่อท่านลุกขึ้นยืนอย่างรวดเร็ว...
เส้นประสาท และเส้นเลือดของท่านจะทำงานร่วมกันต้านแรงถ่วงของโลก
เพื่อทำให้เลือดสามารถกระจายไปทั่วร่างกายได้อย่างสม่ำเสมอ.
ด้วยกระทำให้หัวใจเต้นเร็วขึ้น. เส้นเลือดแดงหดตัว, สามารถทำให้
ปริมาณของเลือดไหลเวียนได้มากขึ้น ...
แต่ในคนสูงอายุ...
เราจะพบว่า ท่านเหล่านั้น มีหลายโรค และได้รับยารักษาหลายขนาน
เป็นเหตุให้เขามีการเปลี่ยนแปลงภายในร่างกาย ไม่สามารถทำให้เลือดไหลเวียน
ไปเลี้ยงสมอง และส่วนอื่นๆ ของร่างได้พอเพียงได้
ซึงทำให้เกิดมีอาการวิเงวียนเกิดขึ้่้น
เนื่องจากคนสูงอายุมีหลายโรค และรับทานยาหลายตัว
ซึ่งสามารถทำให้ความดันโลหิตลดลงได้อย่างฉับพลัน เป็นต้นว่า:
ภาวะขาดน้ำ (dehydration) จากการดื่มน้ำไม่พอ, มีไข้, ท้องร่วง,
อาเจียน, รับทานยาขับปัสสาวะ, หรือมีอากาศร้อนจัด
ปัญหาของโรคหัวใจ (heart problem) เช่น หัวใจล้มเหลว, เส้น
เลือดแข็ง, กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด, หัวใจเต้นช้า หรือโรคลิ้นหัวใจ
โรคเบาหวาน (diabetes) ทำให้ขับปัสสาวะบ่อย และเส้นประสาท
ถูกทำลาย
โรคสมองเสือม เช่น Parkinson’s disease
ความดันโลหิลดต่ำอย่างฉับพลัน สามารถเกิดจากการใช้ยาบางชนิด
(เช่น anti-Parkinsonian drugs, anti-depressants, medication for
Erectile dysfunction) , โรคเส้นประสาท
ซึ่งสัมพันธ์กับอายุมากขึ้น, หรือเป็นโรคโลหิตจาง..
<< Prev . Next >> : P. 6 Anxiety disorders & Symptoms
Lightheadedness หรือ ความรู้สึกวิงเวียน, หน้ามืดคล้ายจะเป็นลม
โดยไม่ศูนย์เสียความรู้สึกตัว(consciousness) บางที่เราเรียกว่า
presyncope จัดเป็นภาวะทีพบได้บ่อยที่สุดในคนสูงอายุ
ซึ่งมีโรคหลายอย่างทำให้เกิดมีอาการเช่นนั้น ที่พบได้บ่อยได้แก่:
โรคหัวใจ (heart disease) หรือโรคเบาหวาน (diabetes)
ความรู้สึกวิงเวียนหน้ามืด จะเป็นลม (lightheadedness)
สามารถทำให้เกิดการหกล้มในคนสูงอายุ
ดังนั้นจึงจำเป็นต้องทำการประเมินหาสาเหตุที่ทำให้เกิดอาการดังกล่าวให้ได้
สาเหตุที่ทำให้เกิดความรู้สึกดังกล่าว ซึ่งพบได้บ่อยที่สุดได้แก่
ความดันโลหิตลดต่ำลงทันที, ความผิดปกติในหูชั้นใน, หรือเกิดจาก
ความวิตกกังวล (Anxiety disorder)
การที่ระดับความดันโลหิตลดต่ำลงอย่างฉับพลัน...
ซึ่งจะเกิดขึ้นเมื่อท่านลุกขึ้นยืนขึ้นทันที มีชื่อให้เรียกว่า orthostatic หรือ
postural hypotension
การที่ระดับความดันลดต่ำแบบนี้ จะทำให้เกิดความรู้สึกวิงเวียน, หน้ามืด
เหมือนจะเป็นลม (lightheadedness) ซึ่งจะเกิดขึ้นได้ประมาณ 3 นาที
และจะมีอาการประมาณไม่กี่วินาที ถีงหลายนาที
นอกเหนือจากอาการวิงเวียน หน้ามืดดังกล่าวแล้ว...
ท่านอาจมีอาการคลื่นไส หน้าซีด และผิวหนังชื้นเย็น
การที่ท่านมีอาการเช่นนั้น เป็นเพราะว่า ในขณะทีท่านนั่งหรือนอน...
พบว่า ด้วยแรงถ่วงของโลก จะทำให้เลือดรวมตัวทีส่วนของขาทั้งสองข้าง
เมื่อท่านลุกขึ้นยืนอย่างรวดเร็ว ทำให้ปริมาณของเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ,
สมอง และสวนอื่นของร่างกายได้ไม่พอกับความต้องการ
จึงเป็นเหตุให้เกิดอาการขึ้น
โดยปกติ เมื่อท่านลุกขึ้นยืนอย่างรวดเร็ว...
เส้นประสาท และเส้นเลือดของท่านจะทำงานร่วมกันต้านแรงถ่วงของโลก
เพื่อทำให้เลือดสามารถกระจายไปทั่วร่างกายได้อย่างสม่ำเสมอ.
ด้วยกระทำให้หัวใจเต้นเร็วขึ้น. เส้นเลือดแดงหดตัว, สามารถทำให้
ปริมาณของเลือดไหลเวียนได้มากขึ้น ...
แต่ในคนสูงอายุ...
เราจะพบว่า ท่านเหล่านั้น มีหลายโรค และได้รับยารักษาหลายขนาน
เป็นเหตุให้เขามีการเปลี่ยนแปลงภายในร่างกาย ไม่สามารถทำให้เลือดไหลเวียน
ไปเลี้ยงสมอง และส่วนอื่นๆ ของร่างได้พอเพียงได้
ซึงทำให้เกิดมีอาการวิเงวียนเกิดขึ้่้น
เนื่องจากคนสูงอายุมีหลายโรค และรับทานยาหลายตัว
ซึ่งสามารถทำให้ความดันโลหิตลดลงได้อย่างฉับพลัน เป็นต้นว่า:
ภาวะขาดน้ำ (dehydration) จากการดื่มน้ำไม่พอ, มีไข้, ท้องร่วง,
อาเจียน, รับทานยาขับปัสสาวะ, หรือมีอากาศร้อนจัด
ปัญหาของโรคหัวใจ (heart problem) เช่น หัวใจล้มเหลว, เส้น
เลือดแข็ง, กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด, หัวใจเต้นช้า หรือโรคลิ้นหัวใจ
โรคเบาหวาน (diabetes) ทำให้ขับปัสสาวะบ่อย และเส้นประสาท
ถูกทำลาย
โรคสมองเสือม เช่น Parkinson’s disease
ความดันโลหิลดต่ำอย่างฉับพลัน สามารถเกิดจากการใช้ยาบางชนิด
(เช่น anti-Parkinsonian drugs, anti-depressants, medication for
Erectile dysfunction) , โรคเส้นประสาท
ซึ่งสัมพันธ์กับอายุมากขึ้น, หรือเป็นโรคโลหิตจาง..
<< Prev . Next >> : P. 6 Anxiety disorders & Symptoms
ปัญหาการเสียดุลของคนสูงอายุ P. 4 (balance problemin elderly) Meniere’s disease & Symptoms
Aug. 25, 2013
โรค Meniere’s จะพบได้น้อยกว่าโรค BPPV และโรคหูชั้นในอักเสบ (labyrinthitis) ...
สามารถเกิดขึ้นกับคนทุกอายุ แต่ส่วนใหญ่เกิดในผู้ใหญ่อายุระหว่าง 40s – 50s
Credit : http://picnicwithants.wordpress.com/
จัดเป็นโรคเรื้อรัง ซึ่งเกิดจากการมีน้ำในหูชั้นในมากกว่าปกติ
โดยเชื้อว่า อาจมีสาเหตุมาจากการอักเสบติดเชื้อไวรัส, โรคภูมิแพ้, หรือ
เกิดจากปัจจัยอย่างอื่นอีกหลายอย่าง
โรค Meniere’s disease...สามารถทำให้เกิดอาการาต่อไปนี้:
Credit : http://www.soundtherapyperth.com/
เกิดอาการบ้านหมุนได้อย่างฉับพลัน โดยเป็นนาน 30 นาที ถึง
หลายชั่วโมง
สูญเสียการได้ยิน ซึ่งในระยะแรกๆ อาจเป็นๆ หายๆ แต่สุดท้าย
จะหูหนวกชนิดถาวรได้
มีเสียงเหมือนผึ้ง หรือมีเสียวหวีดวิว หรือเสียงครึกโครมในหู
หูอื้อ
<< PREV NEXT >> P. 5 Lightheadedness or Near Fainting
โรค Meniere’s จะพบได้น้อยกว่าโรค BPPV และโรคหูชั้นในอักเสบ (labyrinthitis) ...
สามารถเกิดขึ้นกับคนทุกอายุ แต่ส่วนใหญ่เกิดในผู้ใหญ่อายุระหว่าง 40s – 50s
Credit : http://picnicwithants.wordpress.com/
จัดเป็นโรคเรื้อรัง ซึ่งเกิดจากการมีน้ำในหูชั้นในมากกว่าปกติ
โดยเชื้อว่า อาจมีสาเหตุมาจากการอักเสบติดเชื้อไวรัส, โรคภูมิแพ้, หรือ
เกิดจากปัจจัยอย่างอื่นอีกหลายอย่าง
โรค Meniere’s disease...สามารถทำให้เกิดอาการาต่อไปนี้:
Credit : http://www.soundtherapyperth.com/
เกิดอาการบ้านหมุนได้อย่างฉับพลัน โดยเป็นนาน 30 นาที ถึง
หลายชั่วโมง
สูญเสียการได้ยิน ซึ่งในระยะแรกๆ อาจเป็นๆ หายๆ แต่สุดท้าย
จะหูหนวกชนิดถาวรได้
มีเสียงเหมือนผึ้ง หรือมีเสียวหวีดวิว หรือเสียงครึกโครมในหู
หูอื้อ
<< PREV NEXT >> P. 5 Lightheadedness or Near Fainting
ปัญหาการเสียดุลของคนสูงอายุ P. 2 (balance problemin elderly): Benign Paroxysmal Positional Vertigo (BPPV) & Symptoms)
Aug. 25, 2013
อาการของ BPPV
ในบางครั้ง ผลึกของ “แคลเซี่ยม คารบอเนต” ที่อยู่ในหูชั้นใน
(otolith organs) เกิดหลุดออกจากที่มันเคยอยู่เข้าไปอยู่ในท่อครึ่งวงกลม
(semiciurcular canals) โดยอาจเกิดจากหูอักเสบติดเชื้อ,
ศีรษะโดนกระแทก, จากการผ่าตัดหู, หรือชราภาพ
เมื่อมีการเคลื่อนไหวศีรษะ ผลึกที่เคลื่อนหลุดเข้าไปในท่อครึ่งวงกลม
สามารถรบกวนการทำงานของเซลล์รับความรู้สึก (sensory hair cells)
ซึ่งมีหน้าที่ส่งสัญญาณไปยังสมอง และทำให้เกิดอาการวิงเวียนขึ้น
ภาวร BPPV สามารถเกิดขึ้นได้อย่างฉับพลัน และมีอาการรุนแรง
เป็นภาวะที่พบได้บ่อยในคนสูงอายุ ทำให้เกิดอาการบ้านหมุน (vertigo)
ซึ่งมักจะเกิดขึ้นในขณะที่มีการเคลื่อนไหว, ยืนขึ้น, ผลิกตัวบนที่นอน,
หรือเปลี่ยนแปลงตำแหน่งของศีรษะเพียงเล็กน้อย
สามารถทำให้อาการเลวลงได้
ในรายที่มีอาการรุนแรง มักจะมีลักษณะเป็นๆ หายๆ ในระยะสั้น ๆ
โดยแต่ละครั้ง จะต่ำกว่าหนึ่งนาที และมีแนวโน้มที่เกิดได้หลายวัน
นอกจากอาการบ้านหมุน (vertigo) แล้ว อาจมีอาการอย่างอื่นเกิดร่วมได้ เช่น:
วิงเวียน และมีอาการมีนศีรษะ หน้ามืดจะเป็นลม
รู้สึกความมั่นคง...โงนเงน เหมือนจะล้ม และศูนย์เสียการทรงตัว
สายตาพล่ามัว
ลูกตากะตุก(side-to-side) อย่างรวดเร็ว
คลื่นไส้ & อาเจียน
ปวดศีรษะไมเกรน
<< PREV NEXT >> P. 3 Labyrinthitis (acute vestibular neuritis)
อาการของ BPPV
ในบางครั้ง ผลึกของ “แคลเซี่ยม คารบอเนต” ที่อยู่ในหูชั้นใน
(otolith organs) เกิดหลุดออกจากที่มันเคยอยู่เข้าไปอยู่ในท่อครึ่งวงกลม
(semiciurcular canals) โดยอาจเกิดจากหูอักเสบติดเชื้อ,
ศีรษะโดนกระแทก, จากการผ่าตัดหู, หรือชราภาพ
เมื่อมีการเคลื่อนไหวศีรษะ ผลึกที่เคลื่อนหลุดเข้าไปในท่อครึ่งวงกลม
สามารถรบกวนการทำงานของเซลล์รับความรู้สึก (sensory hair cells)
ซึ่งมีหน้าที่ส่งสัญญาณไปยังสมอง และทำให้เกิดอาการวิงเวียนขึ้น
ภาวร BPPV สามารถเกิดขึ้นได้อย่างฉับพลัน และมีอาการรุนแรง
เป็นภาวะที่พบได้บ่อยในคนสูงอายุ ทำให้เกิดอาการบ้านหมุน (vertigo)
ซึ่งมักจะเกิดขึ้นในขณะที่มีการเคลื่อนไหว, ยืนขึ้น, ผลิกตัวบนที่นอน,
หรือเปลี่ยนแปลงตำแหน่งของศีรษะเพียงเล็กน้อย
สามารถทำให้อาการเลวลงได้
ในรายที่มีอาการรุนแรง มักจะมีลักษณะเป็นๆ หายๆ ในระยะสั้น ๆ
โดยแต่ละครั้ง จะต่ำกว่าหนึ่งนาที และมีแนวโน้มที่เกิดได้หลายวัน
นอกจากอาการบ้านหมุน (vertigo) แล้ว อาจมีอาการอย่างอื่นเกิดร่วมได้ เช่น:
วิงเวียน และมีอาการมีนศีรษะ หน้ามืดจะเป็นลม
รู้สึกความมั่นคง...โงนเงน เหมือนจะล้ม และศูนย์เสียการทรงตัว
สายตาพล่ามัว
ลูกตากะตุก(side-to-side) อย่างรวดเร็ว
คลื่นไส้ & อาเจียน
ปวดศีรษะไมเกรน
<< PREV NEXT >> P. 3 Labyrinthitis (acute vestibular neuritis)
ปัญหาการเสียดุลของคนสูงวัย P. 1 (balance problemin elderly):Inner Ear Problems and their Symptoms
Aug. 25, 2013
ภายในหูชั้นใน หรือ จะเรียกว่า labyrinth ก็ได้
มันประกอบด้วยโครงสร้างเล็ก ๆ ทำงานร่วมเป็นระบบการทรงตัว
(vestibular system ) ซึ่งประกอบด้วย ท่อครึ่งวงกลม (semicircular canals)
มีน้ำ (endolymph) บรรจุอยู่ภายใน ทำหน้าที่ในการควบคุมความสมดุล
ของร่างกาย
ภายในท่อครึ่งวงกลมทั้งสาม จะมีเส้นขนเส้นเล็ก ๆ สามารถก่อกำเนิด
คลื่นบอกสมองให้รับทราบตำแหน่งของศีรษะ รวมถึงการเคลื่อนไหวของ
ของศีรษะตามแนวหมุน (rotating)...เช่น พยักหน้า (ก้มหัว & เงยหน้า)
และหันศีรษะไปทางซ้าย...ขวา
นอกจากนั้น เรายังพบอีกว่า ภายในหูชั้นใน
มีผลึกเม็ดเล็กๆ ของ calcium carbonate ...อยู่ในส่วนที่เป็น otolith organs
ซึ่งเป็นหนึ่งในหูชั้นใน ซึ่งที่ทำหน้าที่บอกให้สมองได้ทราบถึงการเคลื่อนไหว
ของศีรษะ ในแนวเส้นตรง เช่นการยืนตรง หรือนั่งรถ ขับจักรยาน...
มีนักวิจัยจำนวนไม่น้อยรายงานไว้ว่า...
เมื่อคนเราแก่ตัวขึ้นเซลล์ประสาทเกี่ยวกับความรู้สึกภายในหูชั้นใน
จะลดจำนวนลงเมื่อคนอายุมากกว่า 55....และจะลดลงเรื่อยๆ เมื่อคนแก่มากขึ้น
นั้นคือสาเหตุที่ทำให้คนสูงอายุเกิดการสูญเสียความสมดุลได้
โรคของหูชั้นใน (Labyrinth) ที่สามารถทำให้เกิดความรู้สึกว่า
วัตถุสิ่งของที่อยู่รอบตัวหมุน (vertigo) ซึ่งพบได้บ่อยได้แก่:
Benign paroxysmal positional vertigo (BPPV)
Labyrinthitis or acute vestibular neuritis
Meniere’s disease
Migrainous vertigo
Acoustic neuroma.
NEXT >> P. 2 Benign Paroxysmal Positional Vertigo (BPPV) & Symptoms
ภายในหูชั้นใน หรือ จะเรียกว่า labyrinth ก็ได้
มันประกอบด้วยโครงสร้างเล็ก ๆ ทำงานร่วมเป็นระบบการทรงตัว
(vestibular system ) ซึ่งประกอบด้วย ท่อครึ่งวงกลม (semicircular canals)
มีน้ำ (endolymph) บรรจุอยู่ภายใน ทำหน้าที่ในการควบคุมความสมดุล
ของร่างกาย
ภายในท่อครึ่งวงกลมทั้งสาม จะมีเส้นขนเส้นเล็ก ๆ สามารถก่อกำเนิด
คลื่นบอกสมองให้รับทราบตำแหน่งของศีรษะ รวมถึงการเคลื่อนไหวของ
ของศีรษะตามแนวหมุน (rotating)...เช่น พยักหน้า (ก้มหัว & เงยหน้า)
และหันศีรษะไปทางซ้าย...ขวา
นอกจากนั้น เรายังพบอีกว่า ภายในหูชั้นใน
มีผลึกเม็ดเล็กๆ ของ calcium carbonate ...อยู่ในส่วนที่เป็น otolith organs
ซึ่งเป็นหนึ่งในหูชั้นใน ซึ่งที่ทำหน้าที่บอกให้สมองได้ทราบถึงการเคลื่อนไหว
ของศีรษะ ในแนวเส้นตรง เช่นการยืนตรง หรือนั่งรถ ขับจักรยาน...
มีนักวิจัยจำนวนไม่น้อยรายงานไว้ว่า...
เมื่อคนเราแก่ตัวขึ้นเซลล์ประสาทเกี่ยวกับความรู้สึกภายในหูชั้นใน
จะลดจำนวนลงเมื่อคนอายุมากกว่า 55....และจะลดลงเรื่อยๆ เมื่อคนแก่มากขึ้น
นั้นคือสาเหตุที่ทำให้คนสูงอายุเกิดการสูญเสียความสมดุลได้
โรคของหูชั้นใน (Labyrinth) ที่สามารถทำให้เกิดความรู้สึกว่า
วัตถุสิ่งของที่อยู่รอบตัวหมุน (vertigo) ซึ่งพบได้บ่อยได้แก่:
Benign paroxysmal positional vertigo (BPPV)
Labyrinthitis or acute vestibular neuritis
Meniere’s disease
Migrainous vertigo
Acoustic neuroma.
NEXT >> P. 2 Benign Paroxysmal Positional Vertigo (BPPV) & Symptoms
วันศุกร์ที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2556
ปัญหาพบบ่อยในการเสียศูนย์ P. 3 : What are some types of balance disorders?
Aug. 24 , 2013
“....... ในเมื่อเราไม่ทราบว่า ศัตรูของเราเป็นใคร...
มีบางครั้ง เราไม่สามารถทราบว่า
ถ้าท่านเป็น BPPV...
นอกจากนั้น ท่านอาจมีอาการของ BPPV...
โรค BPPV.... บางครั้งอาจเป็นผลจากการได้รับอุบัติเหตุ ศีรษะถูกกระแทก
ในขณะนี้เราไม่ทราบว่า อะไรทำให้เกิดเป็นโรคดังกล่าว
นอกเหนือจากนั้น ยังเกิดจากการออกแรงมากเกินไป,
อาการที่เกิดจากโรคดังกล่าว ซึ่งเป็นเรื่องที่น่าจดจำ
เด็กบางคนอาจเกิดมาพร้อมกับโรคดังกล่าว (perilymph fistula
<< Prev. Next >> How is a balance disorder diagnosed?
“....... ในเมื่อเราไม่ทราบว่า ศัตรูของเราเป็นใคร...
แล้วเราจะชนะมันได้อย่างไรเล่า...... ?”
มีบางครั้ง เราไม่สามารถทราบว่า
ต้นเหตุที่ทำให้เกิดการสูญเสียความสมดุลคืออะไร...
ซึ่งเป็นหน้าที่ของแพทย์ผู้รับผิดชอบจะต้องค้นหากันต่อไป...
ประเด็นที่ต้องการจะเสนอให้ทราบ คือสาเหตุที่ทำให้เกิดการเสียดุล
ที่พบได้บ่อยได้แก่:
Benign paroxysmal positional vertigo (BPPV):
BPPV...บางครั้งเราจะเรียกว่า postional vertigo เป็นปรากฏการณ์
ของความรู้สึกวิงเวียนชนิด "หมุน" ( vertigo)
ซึ่งเกิดขึ้นอย่างรุนแรงในช่วงสั้น ๆ ในขณะที่มีการเปลี่ยนแปลงตำแหน่ง
ของศีรษะในบางท่วงท่าเป็นการเฉพาะ...
ถ้าท่านเป็น BPPV...
ท่านอาจมีความรู้สึกว่า ตัวท่านเองหมุนทั้งๆ ที่ตัวท่านอยู่กับที่ไม่มีการ
เคลื่อนไหวใด ๆ เช่น เกิดขึ้นในขณะท่านเงยหน้ามองบนชั้นวางของที่อยู่ใน
ระดับสูง หรือต่ำกว่าระดับสายตา หรือเกิดขึ้นในขณะที่ท่านมองข้ามไหล่
ตนเองขณะถอยรถยนต์...
นอกจากนั้น ท่านอาจมีอาการของ BPPV...
ซึ่งเกิด ในขณะที่ท่านนอนผลิกตัวบนเตียงนอน
โรค BPPV เกิดขึ้นได้เมื่อเม็ด otoconia หลุดออกจากถุง utricle
ในหูชั้นใน (labyrinth) เข้าในท่อครึ่งวงกลม (semicircular canals)
และไปก่อกวนการส่งคลื่นสัญญาณของอวัยวะรับความรู้สึก (steriocilia)
จึงเป็นเหตุใหเกิดอาการวิงเวี่ยน และบ้านหมุนได้
โรค BPPV.... บางครั้งอาจเป็นผลจากการได้รับอุบัติเหตุ ศีรษะถูกกระแทก
หรืออาจเป็นเพราะ คนเราย่างเข้าสู่วัยชรา เป็นเหตุให้หูชั้นในเสื่อมสภาพไป...
จึงมีคนกล่าวว่า " อาการวิงเวียน...มันเป็นโรคของคนแก่....
Labyrinthitis:
Credit : http://healthcarefactfinder.com/
หูชั้นใน (inner ear) มีอีกชื่อเรียกว่า labyrinth
Layrinthitis คือการอักเสบของหูชั้นใน เป็นตัวการที่ทำให้เกิดอาการวิงเวียน
และสูญเสียความสมดุล หรือเสียศูนย์ไป ส่วนใหญ่แล้ว มักจะเกิดร่วมกับ
หลอดลมอักเสบ (upper respiratory infection) ที่พบบ่อยได้แก่
หลังการเป็นโรคไข้ไหวัดใหญ่ (flu)
Meniere’s disease:
Credit : http://picnicwithants.wordpress.com
เป็นโรคที่มีความผิดปกติในหูชั้นใน
โดยปริมาณของน้ำ (endolymph)ในหูชั้นใน มีปริมาณมากกว้่าปกติ
เป็นเหตุอย่างหนึ่งที่ำทำให้เกิดอาการวิงเวียนบ้านหมุ, การได้ยินเสียงเสียไป
เป็นบางครั้ง บางครา, มีเสียงในหู, หรืออากาารหูอื้อ...
ในขณะนี้เราไม่ทราบว่า อะไรทำให้เกิดเป็นโรคดังกล่าว
Vestibular neuritis:
Credit : http://www.webmd.com/
เป็นการอักเสบของเส้นประสาท vestibular nerve โดยเชื่อว่า
น่าจะมีต้นเหตุจากเชื้อไวร้สก็ได้ อาการหลักของโรคดังกล่าว คือ vertigo
Perilymph fistula:
เป็นโรคที่เกิดจากการ “รั่ว” ของน้ำจากหูชั้นใน (inner ear) ไหลเข้าสู่
หูชั้นกลาง ซึ่งอาจเกิดขึ้นภายหลังศีรษะถูกกระแทก, หรือเป็นผลมาจาก
มีการเปลี่ยนแปลงในความดันบรรยายกาศอย่างรุนแรง
เช่น การดำน้ำลึก
Credit : http://www.anatomicaljustice.com/
นอกเหนือจากนั้น ยังเกิดจากการออกแรงมากเกินไป,
ได้รับการผ่าตัดหู, หรือได้รับการอักเสบเรื้อรังของหู
อาการที่เกิดจากโรคดังกล่าว ซึ่งเป็นเรื่องที่น่าจดจำ
คือ นอกเหนือจากมีความรู้สึกวิงเวียน และคลื่นไส้แล้ว โรคดังกล่าวยังทำ
ให้เกิดการเสียศูนย์ (unsteadiness) ในขณะเดิน หรือเกิดขึ้นในขณะยืน
อาการจะเพิ่มมากขึ้นเมื่อมกำลังทำกิจกรรม และจะลดลงเมื่อได้พัก
เด็กบางคนอาจเกิดมาพร้อมกับโรคดังกล่าว (perilymph fistula
ซึ่งมักจะอาการหูหนวกต้งแต่แรกเกิด...
Mal de debarquement syndrome (MdDS):
เป็นการเสีญศูนย์ หรือเสียดุล...
มักจะเกิดขึ้นในขณะทีท่านเดินทางโดยการนั่งเรือ หรือนั่งเครื่องบิน...
ซึ่งจะทำให้เกิดมีอาการวิงเวียน, คลื่นไส้ ส่วนมากอาการจะหาย
เมื่อเรือถึงฝั่ง โดยอาการจะหายในเวลาไม่กี่ชั่วโมง หรือไม่กี่วัน
แต่สำหรับรายที่เป็นรุนแรง อาจกินเวลานานเป็นเดือน
หรือบางทีอาจนานเป็นปีได้
<< Prev. Next >> How is a balance disorder diagnosed?
ปัญหาการเสียดุลของคนสูงอายุ P. 3 (balance problemin elderly): Labyrinthitis (acute vestibular neuritis) & Symptoms
Aug.
25, 2013
Inner ear infection (Labyrinthitis)
การอักเสบ และบวมของหูชั้นใน (labyrintyh)...
สามารถทำให้เกิดอาการบ้านหมุนได้อย่างรุนแรง อย่างต่อเนื่อง
โดยเกิดขึ้ยอย่างฉบพลัน และเป็นนานหลายวัน
โดยเกิดขึ้ยอย่างฉบพลัน และเป็นนานหลายวัน
สาเหตุหลักที่ทำให้หู้ชชั้นในเกิดการอักเสบ
ได้แกา การอักเสบของทางเดินของลมหายใจช่วงบน จากการติดเชื้อ
แบคทีเรีย หรือจากเชื้อไวรัส นอกจากนั้นยังพบอีกว่า ภายใต้วิตกกังวล,
ได้แกา การอักเสบของทางเดินของลมหายใจช่วงบน จากการติดเชื้อ
แบคทีเรีย หรือจากเชื้อไวรัส นอกจากนั้นยังพบอีกว่า ภายใต้วิตกกังวล,
ภาวะเหนื่อยเพลีย, โรคภูมิแพ้, สูบบุหรี่, หรือดื่มแอลกอฮอล...
ต่างสามารถเพิ่มความเสี่ยงต่อการอักเสบของหูชั้นในได้
เมื่อเกิดการอักเสบของหูชั้นในขึ้น จะทำให้เกิดอาการคลื่นไส้, อาเจียน,
สูญเสียความสมดุล และหูหนวกได้ แต่สามารถหายได้เองภายในไม่กี่วัน
สูญเสียความสมดุล และหูหนวกได้ แต่สามารถหายได้เองภายในไม่กี่วัน
ซึ่งอาจทำให้ท่านต้องนอนพักหลายวัน
วันอังคารที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2556
ปัญหาที่พบบ่อยในคนเสียศูนย์ P. 6 : What causes a balance disorder?
Aug 22 , 2013
การเสียศูนย์ หรือการเสียความสมดุล (Imbalance)...
นอกจากเป็นผลมาจากผลึกของ calcium carbonate หลุดเข้าไปในท่อครึ่งวงกลม
ซึ่งเป็นอวัยวะเกี่ยวกับการทรงตัวแล้ว การสูญเสียความสมดุลในคนสูงวัย
ยังอาจเกิดจากการอักเสบของหู จากการติดเชื้อไวรัส หรือแบคทีเรีย,
บาดเจ็บของศีรษะ, หรือมีความผิดปกติในการไหลเวียนของเลือด
ซึ่งมีผลกระทบต่อหูชั้นใน (inner ear) และสมอง (brain)
มีคนสูงอายุหลายนาย พอมีอายุย่างเข้าสู่วัยชรา จะมีปัญหาเรื่องการทรงตัวได้
นอกจากนั้น เรายังพบอีกว่า ปัญหาเกี่ยวกับการทรงตัว ยังเป็นผลมาจาก
การรับประทานยารักษาบางอย่างได้
โรค หรือปัญหาเกี่ยวกับระบบสายตา, ระบบของกระดูก, ระบบประสาท
และระบบการไหลเวียนของเลือด ต่างสามารถก่อให้เกิดการสูญเสียการทรงตัว
หรือสูญเสียศูนย์ได้ทั้งนั้น
โรคในระบบการไหลเวียนของเลือดที่พบบ่อย คือ ความดันโลหิตต่ำ
ซึ่งเกิดจากคนสูงอายุที่มีความดันโลหิตต่ำเป็นทุนเดิม...
หรือเป็นเพราะรับทานยาบางอย่าง สามารถทำให้เกิดความรู้สึกวิงเวียนได้
โดยเฉพาะัมักจะเกิดในขณะลุกขึ้นยืนอย่างรวดเร็ว
ปัญหาของระบบกระดูก (skeletal) และระบบการมองเห็น (visual System)
ซึ่งพบได้บ่อยได้แก่ ข้ออักเสบ (arthritis) และกล้ามเนื้อของลูกตาเสียความสมดุล
อาจทำให้เกิดปัญหาการเสียศูนย์ได้
นอกจากที่กล่าว อาจมีสาเหตุอย่างอื่น ซึ่งสามารถเกิดขึ้นอาการได้อย่างฉับพลัน
โดยไม่สามารถพบสาเหตุได้เลย
<< Prev.
https://www.nidcd.nih.gov/health/balance/pages/balance_disorders.aspx#top
การเสียศูนย์ หรือการเสียความสมดุล (Imbalance)...
นอกจากเป็นผลมาจากผลึกของ calcium carbonate หลุดเข้าไปในท่อครึ่งวงกลม
ซึ่งเป็นอวัยวะเกี่ยวกับการทรงตัวแล้ว การสูญเสียความสมดุลในคนสูงวัย
ยังอาจเกิดจากการอักเสบของหู จากการติดเชื้อไวรัส หรือแบคทีเรีย,
บาดเจ็บของศีรษะ, หรือมีความผิดปกติในการไหลเวียนของเลือด
ซึ่งมีผลกระทบต่อหูชั้นใน (inner ear) และสมอง (brain)
มีคนสูงอายุหลายนาย พอมีอายุย่างเข้าสู่วัยชรา จะมีปัญหาเรื่องการทรงตัวได้
นอกจากนั้น เรายังพบอีกว่า ปัญหาเกี่ยวกับการทรงตัว ยังเป็นผลมาจาก
การรับประทานยารักษาบางอย่างได้
โรค หรือปัญหาเกี่ยวกับระบบสายตา, ระบบของกระดูก, ระบบประสาท
และระบบการไหลเวียนของเลือด ต่างสามารถก่อให้เกิดการสูญเสียการทรงตัว
หรือสูญเสียศูนย์ได้ทั้งนั้น
โรคในระบบการไหลเวียนของเลือดที่พบบ่อย คือ ความดันโลหิตต่ำ
ซึ่งเกิดจากคนสูงอายุที่มีความดันโลหิตต่ำเป็นทุนเดิม...
หรือเป็นเพราะรับทานยาบางอย่าง สามารถทำให้เกิดความรู้สึกวิงเวียนได้
โดยเฉพาะัมักจะเกิดในขณะลุกขึ้นยืนอย่างรวดเร็ว
ปัญหาของระบบกระดูก (skeletal) และระบบการมองเห็น (visual System)
ซึ่งพบได้บ่อยได้แก่ ข้ออักเสบ (arthritis) และกล้ามเนื้อของลูกตาเสียความสมดุล
อาจทำให้เกิดปัญหาการเสียศูนย์ได้
นอกจากที่กล่าว อาจมีสาเหตุอย่างอื่น ซึ่งสามารถเกิดขึ้นอาการได้อย่างฉับพลัน
โดยไม่สามารถพบสาเหตุได้เลย
<< Prev.
https://www.nidcd.nih.gov/health/balance/pages/balance_disorders.aspx#top
ปัญหาที่พบได้บ่อยในคนเสียศูนย์ (Balance problem) P. 5 : What are the symptoms of a balance disorder?
Aug. 22, 2013
เพื่อใหเข้าใจตรงกัน...
มีประโยคข้อความที่สมารถใช้แทนกันได้อยู่สามคำประโยคด้วยกัน
นั้นคือ “ การเสียความสมดุล”, “ การเสียการทรงตัว”
และ “การเสียศูนย์” ซึ่งหมายความว่า
ท่านมีความรู้สึกว่า สิ่งที่อยู่รอบตัวท่านกำลังหมุน หรือตัวท่านเอง
อาจมีอาการโงนเงนในขณะเดิน , หรือก้าวย่างด้วยท่าทางไม่มั่นคง
หรือiรูสึกเหมือนจะหกล้มในขณะที่ท่านลุกขึ้นยืน หรือล้มหงายหลัง....
เราจะเห็นว่า คนที่เสียความสมดุลอาจมาพบแพทย์ด้วยความรู้สึกได้
หลายอย่าง ดังต่อไปนี้:
มีความรู้สึกวิงเวียน, สิ่งแวดล้อมรอบตัวหมุน หรือตัวของท่านหมุน
เกิดหกล้ม หรือมีความรู้สึกเหมือนจะหกล้ม
มึนศีรษะ, หน้ามืดเหมือนจะเป็นลม, หรือรู้สึกเหมือนตัวลอยบนอากาศ
มีสายตาพล่ามัว
เกิดอาการสับสน ทั้งสถานที่ และการเวลา
นอกจากอาการดังกล่าว ท่านที่เสียความสมดุลอาจมีอาการคลื่นไส้ , อาเจียน,
ท้องร่วง, หัวใจเต้นเร็ว , และระดับความดันโลหิตเปลี่ยนไป,
เกิดมีความกลัว, ตื่นตระหนก หรือ วิตกกังวล
บางคนอาจรู้สึกเหนื่อยเพลีย, ซึมเศร้า หรือเกิดการสูญเสียสมาธิ
และมีอาการหลายอย่าง ซึ่งอาจเกิดขึ้นในระยะสั้น ๆ แล้วหายไป
หรืออาจไม่ยอมหายไปใหน แต่มีอาการต่อเนื่องติดต่อเป็นเวลานาน
<< Prev. Next >> What causes a balance disorder ?
เพื่อใหเข้าใจตรงกัน...
มีประโยคข้อความที่สมารถใช้แทนกันได้อยู่สามคำประโยคด้วยกัน
นั้นคือ “ การเสียความสมดุล”, “ การเสียการทรงตัว”
และ “การเสียศูนย์” ซึ่งหมายความว่า
ท่านมีความรู้สึกว่า สิ่งที่อยู่รอบตัวท่านกำลังหมุน หรือตัวท่านเอง
อาจมีอาการโงนเงนในขณะเดิน , หรือก้าวย่างด้วยท่าทางไม่มั่นคง
หรือiรูสึกเหมือนจะหกล้มในขณะที่ท่านลุกขึ้นยืน หรือล้มหงายหลัง....
เราจะเห็นว่า คนที่เสียความสมดุลอาจมาพบแพทย์ด้วยความรู้สึกได้
หลายอย่าง ดังต่อไปนี้:
มีความรู้สึกวิงเวียน, สิ่งแวดล้อมรอบตัวหมุน หรือตัวของท่านหมุน
เกิดหกล้ม หรือมีความรู้สึกเหมือนจะหกล้ม
มึนศีรษะ, หน้ามืดเหมือนจะเป็นลม, หรือรู้สึกเหมือนตัวลอยบนอากาศ
มีสายตาพล่ามัว
เกิดอาการสับสน ทั้งสถานที่ และการเวลา
นอกจากอาการดังกล่าว ท่านที่เสียความสมดุลอาจมีอาการคลื่นไส้ , อาเจียน,
ท้องร่วง, หัวใจเต้นเร็ว , และระดับความดันโลหิตเปลี่ยนไป,
เกิดมีความกลัว, ตื่นตระหนก หรือ วิตกกังวล
บางคนอาจรู้สึกเหนื่อยเพลีย, ซึมเศร้า หรือเกิดการสูญเสียสมาธิ
และมีอาการหลายอย่าง ซึ่งอาจเกิดขึ้นในระยะสั้น ๆ แล้วหายไป
หรืออาจไม่ยอมหายไปใหน แต่มีอาการต่อเนื่องติดต่อเป็นเวลานาน
<< Prev. Next >> What causes a balance disorder ?
ปัญหาพบบ่อยในการเสียศูนย์ P 4 : How does the vestibular system work?
Aug. 20,2013
ตรงบริเวณฐานของท่อครึ่งวงกลม...มีลักษณะอ้วนกว่าส่วนอื่น
ภายในมีองค์ประกอบที่สำคัญ มีรูปร่างเหมือนหยดน้ำ (raindrop) มีเยื้อหุ้มบาง ๆ
มีชื่อเรียกว่า cupula ภายในมีเป็นของเหลวสาร gelatin (gel-like substance)
สมองมีบทบาทสำคัญในการรับข้อมูล, ประเมินผล, และผ่านกระบวนบูรณาการ
ข้อมูลทั้งหลายจากระบบต่างๆ ที่ได้รับจากระบบทั้งสาม (หูชั้นใน. ตา และข้อ-กระดูก)
ระบบการทรงตัว
(vestibular system)...
จะทำงานร่วมกับระบบประสาทที่รับความรู้สึก
และการเคลื่อนไหว
(sensorimotor system) อันได้แก่ ระบบสายตา(visual system) ,กระดูก และข้อ
(skeletal and joints) โดยทำหน้าที่ตรวจสอบ และทำให้ร่างกายอยู่ในสภาพ
ที่สมดุลทั้งขณะพักผ่อน และในขณะมีการเคลื่อนไหว
(skeletal and joints) โดยทำหน้าที่ตรวจสอบ และทำให้ร่างกายอยู่ในสภาพ
ที่สมดุลทั้งขณะพักผ่อน และในขณะมีการเคลื่อนไหว
ระบบการทรงตัวทำงานได้อย่างไร
?
หน้าที่ของระบบดังกล่าว ต้องอาศัยองค์ประอบสองส่วน คือ
semicircular canals) และ otolith organs ซึ่งอยู่ภายในหูชั้นใน (inner ear)
semicircular canals) และ otolith organs ซึ่งอยู่ภายในหูชั้นใน (inner ear)
โดยทำหน้าที่ตรวจจับแรงเชิงกล (mechanical force) และแรงอันเกิดจากความ
โน้มถ่วงของโลก ซึ่งกระทำต่อระบบการทรงตัว (vestibular system) โดยตรง
โน้มถ่วงของโลก ซึ่งกระทำต่อระบบการทรงตัว (vestibular system) โดยตรง
ใน
semicircular
canals จะเป็นท่อครึ่งวงกลม มีน้ำ (endolymh) บรรจุอยู่ภายใน
จำนวน
3 อัน ซึ่งตั้งฉากซึ่งกัน และกัน...โดยมีหน้าที่บอกสมองให้ทราบว่า
ศีรษะมีการเคลื่อนตัวในแนวหมุน
(rotating) อย่างไร
เช่น ศีรษะเคลื่อนขึ้นลงในขณะพยักหน้า หรือหันไปมองซ้าย และด้านขวา
เช่น ศีรษะเคลื่อนขึ้นลงในขณะพยักหน้า หรือหันไปมองซ้าย และด้านขวา
ตรงบริเวณฐานของท่อครึ่งวงกลม...มีลักษณะอ้วนกว่าส่วนอื่น
ภายในมีองค์ประกอบที่สำคัญ มีรูปร่างเหมือนหยดน้ำ (raindrop) มีเยื้อหุ้มบาง ๆ
มีชื่อเรียกว่า cupula ภายในมีเป็นของเหลวสาร gelatin (gel-like substance)
ตัว cupula จะอยู่บนกลุ่มเซลล์รับความรู้สึก มีชื่อว่า hair cells และจากเซลล์ดังกล่าว
มีส่วนลักษณะเหมือนเส้นขน ยื่นเข้าไปในสาร gelatin ที่อยู่ใน cupula
เส้นขนที่ยื่นออกไป มีชื่อเรียก stereocilia ซึ่งมีความแตกต่างจากขนทั่วไป
ตรงที่ stereocilia มันสามารก่อให้เกิดคลื่นคำสั่ง (signals) ส่งไปยังสมองได้...
เส้นขนที่ยื่นออกไป มีชื่อเรียก stereocilia ซึ่งมีความแตกต่างจากขนทั่วไป
ตรงที่ stereocilia มันสามารก่อให้เกิดคลื่นคำสั่ง (signals) ส่งไปยังสมองได้...
เมื่อศีรษะเคลื่อนไหว....น้ำ (endolymph) ภายในท่อครึ่งวงกลมจะเคลื่อนไหวตาม
และจากการเคลื่อนไหวของน้ำ (endolymph) ภายในท่อครึ่งวงกลมดังกล่าว
จะทำให้ส่วนที่เรียก cupula เกิดเอนเอียงไป และทำให้ขน หรือ stereocilia
เฉ (tilt)ไปอีกทาง
จะทำให้ส่วนที่เรียก cupula เกิดเอนเอียงไป และทำให้ขน หรือ stereocilia
เฉ (tilt)ไปอีกทาง
จากการที่
stereocilia
เฉไปจากตำแหน่งเดิมนี้เอง ...
เป็นการกระตุ้นให้มันส่งคลื่น (signals) ไปยังสมอง...บอกให้สมองได้ทราบว่า
ศีรษะมีการเคลื่อนไหว พร้อมกับบอกตำแหน่งให้สมองรู้ด้วยว่า
ศีรษะอยู่ในตำแหน่งใด
เป็นการกระตุ้นให้มันส่งคลื่น (signals) ไปยังสมอง...บอกให้สมองได้ทราบว่า
ศีรษะมีการเคลื่อนไหว พร้อมกับบอกตำแหน่งให้สมองรู้ด้วยว่า
ศีรษะอยู่ในตำแหน่งใด
ในหูชั้นใน (labyrinth) นอกจากมีท่อครึ่งวงกลมแล้ว ยังมีส่วน คือ otolith
organs
ซึ่งเป็นองค์ประกอบสำคัญ ที่มีลักษณะคล้ายถุงเล็กๆ จำนวนสองถุง
มีชื่อเรียกวา utricle และ saccule.... ภายในบรรจุด้วยน้ำ endolymph
ซึ่งเป็นองค์ประกอบสำคัญ ที่มีลักษณะคล้ายถุงเล็กๆ จำนวนสองถุง
มีชื่อเรียกวา utricle และ saccule.... ภายในบรรจุด้วยน้ำ endolymph
Otolith
organs จะทำหน้าที่บอกให้ สมองได้ทราบว่า ร่างกายมีการเคลื่อนไหว
ตามแนวเส้นตรง เช่น การยืนตรง หรือการนั่งรถ หรือปั่นจักรยาน
ตามแนวเส้นตรง เช่น การยืนตรง หรือการนั่งรถ หรือปั่นจักรยาน
นอกจากนั้น
มันยังบอกให้สมอง ว่า เมื่อสัมพันธ์กับแรงโน้มถ่วงของโลกแล้ว
ศีรษะของคนเราอยู่ในตำแหน่งใด เช่น นั่งตรง, เอนไปข้างหลัง หรือนอนราย เป็นต้น
ศีรษะของคนเราอยู่ในตำแหน่งใด เช่น นั่งตรง, เอนไปข้างหลัง หรือนอนราย เป็นต้น
การทำงานของ utricle และ
saccule จะคล้ายกับการทำงานของท่อครึ่งวงกลม
โดยโครงสร้างทั้งสอง มีเซลล์รับความรู้สึก (sensory hair cells)
โดยโครงสร้างทั้งสอง มีเซลล์รับความรู้สึก (sensory hair cells)
อยู่ที่ส่วนก้น
(bootom)
ของถุง และเซลล์ขนดังกล่าว จะมีลักษณะ และการทำงาน
เหมือนกับเซลล์รับความรู้สึกใน cupula ทุกประการ
โดย "เซลล์ขน" จะมีส่วนที่เป็นเส้นขนยื่นออกไปยังสารที่เป็นของเหลวคล้าย gelatin
ซึ่งวางทับอยู่ด้านบนของเซลล์รับความรู้สึก(sensory hair cells) อีกทีหนึ่ง
และมีสาร calcium carbonate เป็นเม็ด ๆ รวมเป็นกลุ่มวางทับบนสาร gelatin
มีชื่อเรียกว่า otoconia...
ส่วนที่เป็นขนของเซลล์รับความรู้สึกดังกล่าว จะยื่นเข้าไปในของเหลว
เหมือนกับเซลล์รับความรู้สึกใน cupula ทุกประการ
โดย "เซลล์ขน" จะมีส่วนที่เป็นเส้นขนยื่นออกไปยังสารที่เป็นของเหลวคล้าย gelatin
ซึ่งวางทับอยู่ด้านบนของเซลล์รับความรู้สึก(sensory hair cells) อีกทีหนึ่ง
และมีสาร calcium carbonate เป็นเม็ด ๆ รวมเป็นกลุ่มวางทับบนสาร gelatin
มีชื่อเรียกว่า otoconia...
ส่วนที่เป็นขนของเซลล์รับความรู้สึกดังกล่าว จะยื่นเข้าไปในของเหลว
ซึ่งวางตัวอยู่บนผิวของมัน เรียกว่า stereocilia เช่นกัน
และของเหลว (gel -like substance) ที่วางอยู่บนผิวด้านบน sensory hair cells
และของเหลว (gel -like substance) ที่วางอยู่บนผิวด้านบน sensory hair cells
ดังกล่าว
จะมี สาร calcium carbonate เป็นเม็ดรวมตัวกันเป็นกลุ่ม
มีชื่อเรียกว่า otoconia
มีชื่อเรียกว่า otoconia
ในขณะที่คนเรากำลังเอียงศีรษะ...
แรงโน้มถ่วงของโลก
จะดึงเม็ด (grains) ของ calcium carbonate ลงสู่เบื้องล่าง
พร้อมกับมีผลกระทบต่อขน (stereocilia) ยื่นออกมาจาก Hair cells ด้วย
ซึ่งเป็นการกระตุ้นให้ stereocilia ส่งสัญญาณไปบอกให้สมอง
บอกให้สมองได้ทราบถึงตำแหน่งของศีรษะ
พร้อมกับมีผลกระทบต่อขน (stereocilia) ยื่นออกมาจาก Hair cells ด้วย
ซึ่งเป็นการกระตุ้นให้ stereocilia ส่งสัญญาณไปบอกให้สมอง
บอกให้สมองได้ทราบถึงตำแหน่งของศีรษะ
Credit : http://www.uofmmedicalcenter.org/
สำหรับระบบสายตา
(visual
system)...
มันจะทำงานร่วมกับระบบการทรงตัว
(vestibular
system) เพื่อทำให้
เราสามารถมองเห็นภาพได้ชัดเจนขณะที่ศีรษะมีการเคลื่อนไหว และบอกให้เรา
ได้ตระหนักรู้ถึงตำแหน่งของร่างกายขณะเดิน หรือขณะนั่งนั่งรถยนต์
เราสามารถมองเห็นภาพได้ชัดเจนขณะที่ศีรษะมีการเคลื่อนไหว และบอกให้เรา
ได้ตระหนักรู้ถึงตำแหน่งของร่างกายขณะเดิน หรือขณะนั่งนั่งรถยนต์
โดยสรุป...ตัวรับความรู้สึก
(sensory
receptors) ในบริเวณข้อ และกล้ามเนื้อ
ของเรา ช่วยเราให้รักษาความสมดุลของร่างกายในขณะที่มีการเดิน หรือการยืน
สมองมีบทบาทสำคัญในการรับข้อมูล, ประเมินผล, และผ่านกระบวนบูรณาการ
ข้อมูลทั้งหลายจากระบบต่างๆ ที่ได้รับจากระบบทั้งสาม (หูชั้นใน. ตา และข้อ-กระดูก)
เพื่อนำไปสู่การควบคุมการทรงตัวของคนเราให้เป็นไปตามปกติ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)