โรคหืดจัดเป็นเรื้อรังชนิดหนึ่ง
ซึ่งมีความผิดปกติที่ทางเดินของหลอด- เกิดแคบ และบวม
และมีมีการปล่อยน้ำเมือกออกมามากผิดปกติ ทำให้เกิดอาการหายใจลำบาก, ไอ, หายใจมีเสียงหวีดและหายใจติดขัด (หายใจสั้น และถี่)
ในบางคน อาการของโรคที่เกิดขึ้น ไม่รุนแรง เป็นแค่ก่อให้เกิดรำคาญเท่านั้น
แต่ในรายอื่น อาการที่เกิดขึ้น
มักจะมีอาการรุนแงถึงขั้นทำให้
วิถีชีวิตปลี่ยนไป
มักจะมีอาการรุนแงถึงขั้นทำให้
วิถีชีวิตปลี่ยนไป
โรคดังกล่าวเป็นโรคที่ไม่มีทางรักษาให้หายขาดได้
แต่เป็นโรคที่สามารถควบคุมได้ และเนื่องจากโรคมีการเปลี่ยน
แปลงตามเวลาที่ผ่านไป การปรับเปลี่ยนวิธีการรักษาจึงเป็นเรื่อง
ที่สำคัญ
เราจะวินิจฉัยโรค
ในการวินิจฉัยโรคหืดก็เหมือนกับการวินิจฉัยโรคอื่น ๆ
ซึ่งจำเป็นต้องอาศัยข้อมูลที่ได้จากการซักประวัติความเจ็บป่วย
มีการตรวจร่างกาย มีการตรวจด้วยิธีกาพิเศษเพื่อยืนยันคำวินิฉัย
ในการวินิจฉัยโรคหืดก็เหมือนกับการวินิจฉัยโรคอื่น ๆ
ซึ่งจำเป็นต้องอาศัยข้อมูลที่ได้จากการซักประวัติความเจ็บป่วย
มีการตรวจร่างกาย มีการตรวจด้วยิธีกาพิเศษเพื่อยืนยันคำวินิฉัย
ในการซักประวัติ และการตรวจร่างกาย:
เรื่องราวต่างๆ ที่ท่าน (คนไข้) บอกกับแพทย์ผู้ทำการรักษา
จัดเป็นเบาะแสที่สำคัญ ที่จะนำไปสู่คำวินิจฉัยว่า ท่านเป็นโรคหืดหรือไม่?
มีคำถามมากมาย ที่แพทย์เขาจะตั้งคำถาม
เกี่ยวกับการหายใจของท่าน
นี่คือตัวอย่าง
ของการสนทนาระหว่างคนไข้ และแพทย์ผู้ทำการรักษา
เกี่ยวกับการหายใจของท่าน
นี่คือตัวอย่าง
ของการสนทนาระหว่างคนไข้ และแพทย์ผู้ทำการรักษา
Ø ให้ท่านอธิบายความรู้สึกที่เกิดในขณะหายใจลำบาก
Ø ให้ท่านลองนึกถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก่อนที่จะมีอาการหายใจลำบาก
Ø ท่านเคยตื่นนอนกลางดึก...เพราะหายใจลำบากหรือไม่ ?
Ø ท่านเคยมีอาการไอในตอนกลางคืน...ส่วนกลางวันไม่มีอาการ...?
Ø ท่านเคยเลี้ยงสัตว์ (หมา หรือ แมว...) มาบ้างหรือไม่ ?
Ø ท่านเคยได้รับงานใหม่ หรือเคยตกงาน ?
Ø ...สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง...อาจเป็นต้นเหตุให้เกิดอาการ ?
Ø และอื่น ๆ
ในระหว่างการพูดคุยกับแพทย์...
ในระหว่างการพูดคุยกับแพทย์...
ท่านอาจสังเกตุพบว่า แพทย์เขาจ้องหน้าท่านอย่างไม่เกรงใจ
เพราะเขาต้องการสังเกตุดูอาการของท่านว่า มีอะไรผิดปกติ
เช่น อาจมัปัญหาในด้านการพูด มีอาการหายใจลำบาก มีการ
ออกแรงมากกว่าปกติในขณะหายมจเข้าหรือออก
เพราะเขาต้องการสังเกตุดูอาการของท่านว่า มีอะไรผิดปกติ
เช่น อาจมัปัญหาในด้านการพูด มีอาการหายใจลำบาก มีการ
ออกแรงมากกว่าปกติในขณะหายมจเข้าหรือออก
จากนั้น...
ท่านจะเห็นแพทย์เขาใช้ เครื่องฟังปอด stethoscope วางบนอก
ของท่าน พร้อม ๆ กับบอกให้ท่านหายใจเข้าออกลึก ๆ
โดยที่แพทย์เขาพยายามฟังเสียลมหายใจที่เป็นสเสียง "หวีด"
ในขณะหายใจออก ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะที่เกิดขึ้นในคนที่เป็น
โรคหืด
ในการหายใจออก ถ้าหากท่านใช้เวลานานกว่าเวลาหายใจเข้า
อาจเป็นร่องรอย หรือเป็นเบาะแสให้สงสัยว่า
ท่านอาจเป็นโรคหืด...
ท่านจะเห็นแพทย์เขาใช้ เครื่องฟังปอด stethoscope วางบนอก
ของท่าน พร้อม ๆ กับบอกให้ท่านหายใจเข้าออกลึก ๆ
โดยที่แพทย์เขาพยายามฟังเสียลมหายใจที่เป็นสเสียง "หวีด"
ในขณะหายใจออก ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะที่เกิดขึ้นในคนที่เป็น
โรคหืด
ในการหายใจออก ถ้าหากท่านใช้เวลานานกว่าเวลาหายใจเข้า
อาจเป็นร่องรอย หรือเป็นเบาะแสให้สงสัยว่า
ท่านอาจเป็นโรคหืด...
นอกจากนั้น แพทย์เขาอาจมองหาเบาะแสอย่างอื่น ๆ
ซึ่งเป็นต้นเหตุของการหายใจลำบาก
เช่น pneumonia หรือ โรคหัวใจล้มเหลว เป็นต้น
จากข้อมูลที่แพทย์ได้รับ...
ถ้าแพทย์เขาสงสัยว่า ท่านเป็นโรคหืดจริงหรือไม่ ?
เขาจำเป็นต้องการตรวจด้วยด้วเครื่องมือที่มีชื่อว่า peak flow meter
นอกจากนั้น ท่านอาจได้รับการตรจดูระดับของออกซิเจนในเลือด
จากข้อมูลที่แพทย์ได้รับ...
ถ้าแพทย์เขาสงสัยว่า ท่านเป็นโรคหืดจริงหรือไม่ ?
เขาจำเป็นต้องการตรวจด้วยด้วเครื่องมือที่มีชื่อว่า peak flow meter
นอกจากนั้น ท่านอาจได้รับการตรจดูระดับของออกซิเจนในเลือด
การวินิจฉัย และการตรวจด้วยวิธีต่าง ๆ
เมื่อแพทย์เขาคิด หรือสงสัยว่า ท่านเป็นโรคหืด
วิธีการทั่วไป ที่แพทย์นำมาใช้ในการตรวจเพื่อยืนยันข้อสงสัย
ว่าท่านเป็นโรคหืดจริงหรือไม่ โดยแพทย์จะให้ยาพ่น (inhaler)
แก่ท่าน หรือให้ท่านหายใจเอายาจากเครื่องพ่น nebulizer
โดยยาที่หายใจเข้าไป จะทำให้หลอดลมขยายตัว
ทำให้หายใจดีขึ้น
ว่าท่านเป็นโรคหืดจริงหรือไม่ โดยแพทย์จะให้ยาพ่น (inhaler)
แก่ท่าน หรือให้ท่านหายใจเอายาจากเครื่องพ่น nebulizer
โดยยาที่หายใจเข้าไป จะทำให้หลอดลมขยายตัว
ทำให้หายใจดีขึ้น
ถ้าหากวิธีการรักษาด้วยวิธีดังกล่าว ปราศจากผล
แพทย์อาจจำเป็นต้องตรวจอย่างอื่นต่อไป ด้วยการใช้วิธีการใดวิธีการหนึ่ง ดังต่อไปนี้
การตรวจการทำงานของปอด (Pulmonary function test)
เป็นวิธีการที่มีความสลับซับซ้อน และกระทำโดยผ่านรูปแบบของ peak flow Meter
ซึ่งท่าน (คนไข้) จะต้องหายใจผ่านเข้าเครื่อง
ซึ่งแพทย์สามารถวัดอะไรได้หลายอย่างเกี่ยวกับการทำงานของปอด
นอกจากการตรวจความแข็งแรง (strength) ของปอดแล้ว เครื่องยังสามารถ
บอกให้เราได้ทราบว่า ปอดของท่านสามารถสดเอาอากาศเข้าไปได้มากน้อยแค่ใด ?
และในขณะเดียวกัน มันยังสามารถบอกให้ทราบถึงอาการแสดงว่า
เนื้อปอดของท่านถูกทำลายมากน้อยแค่ใด
และในขณะเดียวกัน มันยังสามารถบอกให้ทราบถึงอาการแสดงว่า
เนื้อปอดของท่านถูกทำลายมากน้อยแค่ใด
ถ้าแพทย์ให้ท่านได้รับยา (สูดเอายาเข้าปอด) ขยายทางเดินของลมหายใจ
และปรากฎว่า อาการของท่านดีขึ้น...
ท่านนาจะเป็นโรคหืด..
และปรากฎว่า อาการของท่านดีขึ้น...
ท่านนาจะเป็นโรคหืด..
ในคนที่เป็นโรคหืดหอบ (asthma)...
โรคหืดจะไม่มีการทำลายของเนื้อปอด (air sacs) เลย
แม้ว่าคนไข้รายนั้นจะมีอาการหอบหืดอย่างรุนแรงก็ตามที
นั้นย่อมแสดงให้เราได้รทราบว่า โรคหืดเป็นปัญหาของทางเดินของลมหายใจ (air tubes)
ไม่ใช่ปัญหาของเนื้อปอด (air sacs)
ซึ่งเป็นที่ ๆ มีการแลกเปลี่ยนอากาศ (ออกซิเจน & คาร์บอนไดออกไซด์)
ไม่ใช่ปัญหาของเนื้อปอด (air sacs)
ซึ่งเป็นที่ ๆ มีการแลกเปลี่ยนอากาศ (ออกซิเจน & คาร์บอนไดออกไซด์)
สำหรับโรคชนิดอื่นๆ เช่น โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (หลอดอักเสบเรื้อรัง +ถุงลมโป่งพอง)
ในคนไข้พวกนี้จะพบการทำลายของเนื้อปอด (ดังรูป)
เป็นอีกวิธีหนึ่ง ซึ่งถุูนำมาใช้เพื่อยืนยันคำวินิจฉัยโรคหืด...
ซึ่งจะกระทำพร้อม ๆ กับการตรวจการทำงานของปอด (pulmonaryfunction test)
โดยแพทย์ผู้ตรวจจะให้ทานสูดเอายา methacholine
ซึ่งยาจะทำให้ทางเดินของลมหายใจแคบลง (constricts)
จากนั้น แพทย์จะให้ยาขยายหลอดลมตาม
ซึ่งยาจะทำให้ทางเดินของลมหายใจแคบลง (constricts)
จากนั้น แพทย์จะให้ยาขยายหลอดลมตาม
ในคนไข้ที่มีความไว (sensitive) ต่อยา methacholine
และตอบสนองต่อยาขยายหลอดลม...
เขาน่าจะเป็นโรคหืดหอบ
เขาน่าจะเป็นโรคหืดหอบ
อย่างไรก็ตาม การตรวจดังกล่าวใช่ว่าจะให้ผล 100 % เสียเมื่อไหร่ละ...
คนไข้อาจได้ผลการตรวจเป็นบวก แต่เขาไม่ได้เป็นโรคหืด...
หรือผลการตรวจเป็นลบ เขาดันเป็นโรคหืดก็ได้
หรือผลการตรวจเป็นลบ เขาดันเป็นโรคหืดก็ได้
ถึงกระนั้นก็ตาม การตรวจ methacholine เพียงแต่บอกว่า
มันน่าจะใช้โรคหืด!
.
สุดท้ายท่านอาจได้รับการตรวจเอกซเรย์ปอด
และถึงแม้ว่า การตรวจดูภาพเอกซเรย์ปอด ไม่ได้ช่วยในการวินิจฉัยโรคหืด
แต่มันสามารถนำไปใช้ในการแยกโรคอย่างอื่น
แต่มันสามารถนำไปใช้ในการแยกโรคอย่างอื่น
ซึ่งเป็นต้นเหตุทำให้เกิดปัญหาด้านการหายใจลำบากคล้ายหืดได้
เช่น pneumonia และโรคหัวใจล้มเหลว...
เช่น pneumonia และโรคหัวใจล้มเหลว...
Adapted from:
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น