Diabetics and High Blood Pressure
โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคที่มีความสัมพันธ์
ดังนั้น เราจึงพูดว่า โรคทั้งสองเป็นโรคที่เกิดร่วมกัน comorbidities
นับเป็นเรื่องที่ไม่ดีเลย เมื่อโรคเบาหวานทำให้โรคความดันโลหิตสูง
เพราะรักษาได้ยากขึ้น และในขณะเดียวกัน ความดันโลหิตสูง
ทำให้โรคเบาหวานตกอยู่ในภาวะอันตรายเพิ่มขึ้น
กล่าวได้ว่า โรคทั้งสองเกิดร่วมกันจริง
แต่ชอบทำให้โรคที่เกิดร่วมแย่ลง...ไม่ใช้ทำให้ดีขึ้นแม้แต่น้อย
โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง...
มันสัมพันธ์กัน...อย่างไร ?
ทั้งโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มที่จะเกิดร่วมกัน
เพราะทั้งสองต่างมีคุณสมบัติทางสรีวิทยาบางอย่างร่วมกัน...
ซึ่งหมายความว่า แต่ละโรคมีแนวโน้มทีจะส่งผลกระทบ
ต่อโรคที่เกิดร่วมกัน
ในกรณีของโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ผลกระทบที่เกิด
ขึ้นจากโรคทั้งสอง ซึ่งเราสามารถพบเห็น ได้แก่:
o Increase Fluid Volume…พบว่า โรคเบาหวานจะเพิ่มปริมาณของ
น้ำภายในร่างกาย เป็นเหตุทำให้ระดับความดันโลหิตสูงขึ้น
o Increase Aterial Stiffness…โรคเบาหวานจะลดความยืดหยุ่นของ
ผนังเส้นเลือดลง เป็นเหตุให้ความดันโลหิตโดยเฉลี่ยเพิ่มขึ้น
o Impaired Insulin Stiffness…
พบว่า ความเปลี่ยนแปลงในการผลิต และการทำงานของอินซูลิน
สามารถเพิ่มความดันโลหิตได้โดยตรง
o Increase Fluid Volume…พบว่า โรคเบาหวานจะเพิ่มปริมาณของ
น้ำภายในร่างกาย เป็นเหตุทำให้ระดับความดันโลหิตสูงขึ้น
o Increase Aterial Stiffness…โรคเบาหวานจะลดความยืดหยุ่นของ
ผนังเส้นเลือดลง เป็นเหตุให้ความดันโลหิตโดยเฉลี่ยเพิ่มขึ้น
o Impaired Insulin Stiffness…
พบว่า ความเปลี่ยนแปลงในการผลิต และการทำงานของอินซูลิน
สามารถเพิ่มความดันโลหิตได้โดยตรง
แม้ว่าคุณสมบัติทางชีวภาพของโรคทั้งสอง จะอธิบายให้ทราบ
ถึงการเกิดร่วมกันก็ตาม มีคนไข้หลายราย ที่มีโรคทั้งสองเป็น
เพราะว่า ทั้งสองต่างมีปัจจัยเสี่ยงร่วมกัน ซึ่งได้แก่:
o Body Mass… การมีน้ำหนักมากเกินจะเพิ่มความเสี่ยงให้แก่ทั้งโรค
เบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง
o Diet…อาหารประเภทไขมัน และเกลือสูง และอาหารประเภทน้ำตาล
ปรุงสำเร็จ จะทำให้เกิดมีปัญหา ๆ ต่ออวัยวะภายใน และนำไปสู่การเกิด
ทั้งโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง
o Activity Level…การออกแรงน้อย (low level of activity) จะทำให้
การทำงานของอินซูลินลดลง ซึ่งจะนำไปสู่การเกิดโรคเบาหวานและ
นำไปสู่การเกิดผนังเส้นเลือดแข็งตัว เป็นเหตุให้เกิดความดันโลหิตสูงได้
o Body Mass… การมีน้ำหนักมากเกินจะเพิ่มความเสี่ยงให้แก่ทั้งโรค
เบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง
o Diet…อาหารประเภทไขมัน และเกลือสูง และอาหารประเภทน้ำตาล
ปรุงสำเร็จ จะทำให้เกิดมีปัญหา ๆ ต่ออวัยวะภายใน และนำไปสู่การเกิด
ทั้งโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง
o Activity Level…การออกแรงน้อย (low level of activity) จะทำให้
การทำงานของอินซูลินลดลง ซึ่งจะนำไปสู่การเกิดโรคเบาหวานและ
นำไปสู่การเกิดผนังเส้นเลือดแข็งตัว เป็นเหตุให้เกิดความดันโลหิตสูงได้
ยุทธวิธีในการป้องกันทั้งโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง มักจะมุ่ง
ตรงไปที่ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงดังกล่าว
โรคความดันโลหิตสูง...เกิดในโรคเบาหวานได้บ่อยแค่ไหน ?
มีข้อมูลที่ได้จากการศึกษาหนึ่ง ซึ่งโยงใยถึงโรคเบาหวานประเภท
หนึ่ง (T1D) มีตัวเลขที่น่าสนใจดังนี้:
o 5% ของคนไข้จะเป็นโรคความดันโลหิตสูงภายใน 10 ปี
o 33 % ของคนไข้จะเป็นเบาหวานภายใน 20 ปี
o 70 % จะเป็นโรคความดันสูงเมื่ออายุ 40
หนึ่ง (T1D) มีตัวเลขที่น่าสนใจดังนี้:
o 5% ของคนไข้จะเป็นโรคความดันโลหิตสูงภายใน 10 ปี
o 33 % ของคนไข้จะเป็นเบาหวานภายใน 20 ปี
o 70 % จะเป็นโรคความดันสูงเมื่ออายุ 40
ผลจากการศึกษาในเบาหวานประเภทสอง...
จากข้อมูลบอกว่า ประมาณ 75 % ของคนไข้ที่เป็นโรคไต
จากข้อมูลบอกว่า ประมาณ 75 % ของคนไข้ที่เป็นโรคไต
ซึ่งมักเป็นภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน
จะมีความดันโลหิตสูงเกิดขึ้น
ในคนเป็นเบาหวานประเภทสอง แต่ไม่มีโรคไต (kidney disease)
มีโอกาสเป็นโรคความดันโลหิตสูงถึง 40 %
โดยรวม โดยเฉลี่ย คนเป็นโรคเบาหวาน มีโอกาสเป็นโรคความดัน
โลหิตสูงได้ถึง 35 %
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น