May 16, 2014
ในคนไข้ที่ได้รับการตรวจด้วยกล้องส่องตรวจกระเพาะอาหาร
ผลปรากฏว่า ทุกอย่างอยู่ในสภาพปกติ ไม่พบเชื้อแบคมีเรีย H. Pylori
หรือรอยโรคอย่างอื่นใดนั้น อาจมีโรค หรือสาเหตุอย่างอื่น
ซึ่งสามารถทำให้เกิดมีอาการเช่นนั้นได้ ที่ควรทราบมีดังนี้:...
o เมื่อคนไข้ยังมีอาการปวดท้องอยู่เช่นเดิม...
สิ่งที่จะต้องกระทำต่อไป คือ การตรวจดูความผิดปกติในถุงน้ำดี เป็น
การด้วยภาพ “อัลตร้าเซาวด์” ซึ่งควรกระทำในรายที่มีอาการชี้บ่งว่า
เป็นโรคในระบบดังกล่าว
o ในกรณีที่มความผิดปกติในกระเพาะอาหาร ไม่สามารถดันอาหารที่
ได้รับการคลุกเคล้าด้วยน้ำย่อยเป็นที่เรียบร้อย (chymne) ออกไปสู่
ลำไส้ส่วนบน (dudodenum) ได้ตามปกติ (delayed gastric emtying)
จะก่อให้เกิดมีอาการปวดท้อง (dyspepsia) ได้ประมาณ 30 – 40 %
ของคนไข้ที่มาด้วยอาการปวดท้อง (disypepsia)
o ในคนไข้ที่มีอาการปวดท้องจากภาวะ delayed gastric emtying ในคน
ไข้ที่เป็นโรคเบาหวาน (diabetes) โดยมีต้นเหตุจากกล้ามเนื้อกระเพาะ
อาหารอ่อนแรง (gastroparesis) ซึ่งสามารถใช้วิธี gastric emptying study
ตรวจสภาพการทำงานของกระเพาะอาหารได้
o ในกรณีทีมีอาการท้องร่วง, ท้องผูก, อืดท้อง และเป็นลในท้อง
อาจเกิดขึ้นในโรคอักเสบของลำไส้ (inflammatory bowel disease)
ซึ่งอาจจำเป็นต้องทำการตรวจส่องกล้องดูลำไส้ใหญ่ (colonoscopy)
o ในกรณีที่ปวดท้องจากลำไส้ขาดเลือด (intestinal ischemia) ซึ่งอาจ
เกิดได้ในคนที่เป็นโรคเส้นเลือดส่วนปลาย (peripheral vascular disease)
หรือโรคหลอดเลือดของหัวใจตีบแคบ (coronary artery disease)
ในคนไข้ที่ลำไส้ขาดเลือดจากโรค chronic mesenteric ischemia
สามารถสั่งให้ทำการตรวจ computed tomography (CT) และ MRI
Angiography ซึ่งสามารถตรวจดูสภาพของเส้นเลือด mesenteric
vessels มีความผิดปกติ (ตีบเคบหรือไม่)
o อาการปวดท้องที่เกิดจากความเครียด...ควรได้รับการตรวจ และรักษา
เช่นกัน
o คนที่มีอาการปวดท้อง โดยมีสาเหตุจาก functional dyspepsia
(diopathic or nonulcer) สามารถพบได้ประมาณ 75 %
<< BACK NEXT>> P14: Summary and Recommendation
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น