8/13/12
Continued
Continued
การตรวจดูระดับน้ำตาลในแต่ละวัน...
จะช่วยติดตามดูระดับสูง-ต่ำ ของน้ำตาลในเลือดในแต่ละวัน
ส่วนการตรวจ Hemoglobin A1C จะเป็นการตรวจดูระดับน้ำตาลในระยะยาว
เป็นการตรวจดูระดับน้ำตาลในเลือดย้อนหลัง
จะช่วยติดตามดูระดับสูง-ต่ำ ของน้ำตาลในเลือดในแต่ละวัน
ส่วนการตรวจ Hemoglobin A1C จะเป็นการตรวจดูระดับน้ำตาลในระยะยาว
เป็นการตรวจดูระดับน้ำตาลในเลือดย้อนหลัง
การตรวจชนิดนี้ จะถูกนำมาใช้ตรวจดูว่า
โรคเบาหวานถูกควบคุมได้ดีเพียงใดในช่วงสองสามเดือนที่ผ่านมา
เป็นการตรวจ ที่บางทีเราเรียกว่า HgbA1C หรือ A1C
การตรวจชนิดนี้ จะตรวจในโรงพยาบาล...
เป็นการตรวจดูว่า น้ำตาลที่เกาะติด Hemoglobin ซึ่งเป็นโปรตีน มีธาตุเหล็ก
อยู่ภายในเม็ดเลือดแดง และเมื่อมีน้ำตาลมาเกาะเมื่อใด เขาเรียกว่า glycated
หรือ glycosylated Hemoglobin ถ้ามีน้ำตาลในกระแสเลือดมากไป
มันจะไปเกาะเม็ดเลือดแดง (glycated hemoglobin) ให้มีจำนวนมากขึ้น
เป็นการตรวจดูว่า น้ำตาลที่เกาะติด Hemoglobin ซึ่งเป็นโปรตีน มีธาตุเหล็ก
อยู่ภายในเม็ดเลือดแดง และเมื่อมีน้ำตาลมาเกาะเมื่อใด เขาเรียกว่า glycated
หรือ glycosylated Hemoglobin ถ้ามีน้ำตาลในกระแสเลือดมากไป
มันจะไปเกาะเม็ดเลือดแดง (glycated hemoglobin) ให้มีจำนวนมากขึ้น
เมื่อน้ำตาลเกาะที่เม็ดเลือดแดงแล้ว มันจะเกาะติดเม็ดเลือดแดงโดยตลอด...
ปกติเม็ดเลือดแดงจะมีชีวิตอยู่พียงสอง ถึงสามเดือน
ซึ่งหมายความว่า ระดับน้ำตาลในเลือดจะค่อยหายไปจากเลือด
เมื่อเม็ดเลือดแตก และถูกนำกลับมาใช้ใหม่ (recycle)
ปกติเม็ดเลือดแดงจะมีชีวิตอยู่พียงสอง ถึงสามเดือน
ซึ่งหมายความว่า ระดับน้ำตาลในเลือดจะค่อยหายไปจากเลือด
เมื่อเม็ดเลือดแตก และถูกนำกลับมาใช้ใหม่ (recycle)
A1C จะถูกรายงานเป็นเปอร์เซ็นต์ ของเม็ดเลือดแดง ที่ถูกเรียกว่า “glycated”
ซึ่งมันจะบอกให้ทราบว่า ในกระแสเลือดที่ไหลเวียนในร่างกาย
มีน้ำตาลอยู่มากเท่าใด โดยมันบอกให้ทราบว่า
ในช่วงสองสามเดือนที่ผ่านมา มีระดับน้ำตาลอยู่สูงเท่าใด
ซึ่งมันจะบอกให้ทราบว่า ในกระแสเลือดที่ไหลเวียนในร่างกาย
มีน้ำตาลอยู่มากเท่าใด โดยมันบอกให้ทราบว่า
ในช่วงสองสามเดือนที่ผ่านมา มีระดับน้ำตาลอยู่สูงเท่าใด
แต่อย่างใดก็ตาม ผลการตรวจจะถูกกระทบอย่างมาก
ในช่วงสองอาทิตย์ก่อนที่จะทำการตรวจ A1C
ในช่วงสองอาทิตย์ก่อนที่จะทำการตรวจ A1C
ในผู้ใหญ่ที่เป็นเบาหวานประเภทหนึ่ง (DM1)...
เขาสามารถลดความเสี่ยงจากภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานได้
ด้วยการทำให้ระดับของ A1C ให้ต่ำกว่า 7 %
เขาสามารถลดความเสี่ยงจากภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานได้
ด้วยการทำให้ระดับของ A1C ให้ต่ำกว่า 7 %
สำหรับในเด็กมีอายุต่ำกว่า 19 ซึ่งเป็นเบาหวานประเภทหนึ่ง
ควรให้ค่าของ A1C สูงได้เล็กน้อย
ควรให้ค่าของ A1C สูงได้เล็กน้อย
การตรวจหาค่า A1C ควรตรวจอย่างน้อย ทุก 6 เดือน
และ อาจตรวจบ่อยกว่านั้น หากระดับน้ำตาลในกระแสเลือด
ควบคุมได้ไม่ดีพอ
และ อาจตรวจบ่อยกว่านั้น หากระดับน้ำตาลในกระแสเลือด
ควบคุมได้ไม่ดีพอ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น