9/18/12
continued 2
Myocardial infarction
อาการแสดง (Symptoms) อาการของ heart attack ที่เราพบกันบ่อยมาก
คือ เจ็บหน้าอก, ซึ่งอาการที่คนไข้บอก มีได้หลายแบบ เช่น
หน้าอกถูกอัดแน่น, ถูกกดด้วยของหนักบนหน้าอก และ
บางทีเหมือนถูกแทงที่หน้าอก หรือ ออกแสบอกร้อน เป็นต้น
คือ เจ็บหน้าอก, ซึ่งอาการที่คนไข้บอก มีได้หลายแบบ เช่น
หน้าอกถูกอัดแน่น, ถูกกดด้วยของหนักบนหน้าอก และ
บางทีเหมือนถูกแทงที่หน้าอก หรือ ออกแสบอกร้อน เป็นต้น
แม้ว่า อาการเจ็บหน้าอกดังกล่าว อาจเกิดเมื่อใดก็ได้
แต่ส่วนใหญ่มักจะเกิดในตอนเช้า ประมาณสองสามชั่วโมงหลังตื่นนอน
อาการเจ็บหน้าอก มีแนวโน้มที่จะเกิดตรงตำแหน่งศูนย์กลางของทรวงอก
หรือ ต่ำกว่ากระดูกทรวงอก (rib cage) และอาการปวดอาจมีการร้าวไปที่
บริเวณของต้นแขน, ท้อง, คอ, บริเวณกระดูกกราม คือ คอ
แต่ส่วนใหญ่มักจะเกิดในตอนเช้า ประมาณสองสามชั่วโมงหลังตื่นนอน
อาการเจ็บหน้าอก มีแนวโน้มที่จะเกิดตรงตำแหน่งศูนย์กลางของทรวงอก
หรือ ต่ำกว่ากระดูกทรวงอก (rib cage) และอาการปวดอาจมีการร้าวไปที่
บริเวณของต้นแขน, ท้อง, คอ, บริเวณกระดูกกราม คือ คอ
นอกจากนั้น คนไข้จะมอการออกแรงแบบแบพลัน, มีเหงื่อออก, คลื่นไส้, อาเจียน
และหายใจลำบาก, หมดสติ, หัวใจเต้นเร็ว หรือใจสั่น (palpitation), สับสน
บางครั้ง เมื่อเกิดมีอาการ heart attack ขึ้น
มันสามารถทำให้เกิดอาการเจ็บหน้าอกแบบแสบ-ร้อน,
มีอาการคลื่นไส้ และอาเจียน ซึ่งคนไข้มักจะเข้าใจว่า
อาการที่เกิดขึ้นนั้น เป็นอาการเกี่ยกับโรคกระเพาะอาหารไม่ย่อย
และหายใจลำบาก, หมดสติ, หัวใจเต้นเร็ว หรือใจสั่น (palpitation), สับสน
บางครั้ง เมื่อเกิดมีอาการ heart attack ขึ้น
มันสามารถทำให้เกิดอาการเจ็บหน้าอกแบบแสบ-ร้อน,
มีอาการคลื่นไส้ และอาเจียน ซึ่งคนไข้มักจะเข้าใจว่า
อาการที่เกิดขึ้นนั้น เป็นอาการเกี่ยกับโรคกระเพาะอาหารไม่ย่อย
วินิจฉัย (Diagnosis)
แพทย์ขอท่านจะถามท่าน...
ให้อธิบายอาการเจ็บหน้าอก และอาการอื่น ๆ ที่เกิดขึ้น
ตามความเป็นจริง สมาชิกในครอบครัว
หรือเพื่อนสนิทจะเป็นคนพาคนไข้ไปพบแพทย์ และ คนเหล่านี้
สามารถให้ข้อมูลเกี่ยวกับอาการของคนไข้แก่แพทย์ได
พร้อมกันนั้น ท่านควรบอกให้ท่านทราบว่า ท่านรับทานยาอะไรมาบ้าง
ซึ่ง อาจมีความสำคัญต่อแพทย์ผู้ทำการรักษาของคนไข้ได้บ้าง
ให้อธิบายอาการเจ็บหน้าอก และอาการอื่น ๆ ที่เกิดขึ้น
ตามความเป็นจริง สมาชิกในครอบครัว
หรือเพื่อนสนิทจะเป็นคนพาคนไข้ไปพบแพทย์ และ คนเหล่านี้
สามารถให้ข้อมูลเกี่ยวกับอาการของคนไข้แก่แพทย์ได
พร้อมกันนั้น ท่านควรบอกให้ท่านทราบว่า ท่านรับทานยาอะไรมาบ้าง
ซึ่ง อาจมีความสำคัญต่อแพทย์ผู้ทำการรักษาของคนไข้ได้บ้าง
แพทย์จะทำการวินิจฉัยคนไข้รายใดเป็น heart attack
จำเป็นต้องพึงพาข้อมูลจากอาการแสดงต่าง ๆ, ประวัติเกี่ยวกับความเจ็บป่วย
และ ปัจจัยต่าง ๆ ที่ทำให้เกิดโรเส้นเลือด และหัวใจ และ
เพื่อยืนยันคำวินิจฉัย สิ่งที่แพทย์จะต้องทำ คื
o การตรวจคลื่นของหัวใจ (electrocardiogram (EKG)
o การตรวจร่างกาย โดยมุ่งสนใจไปที่หัวใจ และความดันโลหิตสู
o ตรวจเลือดหา serum cardiac markers ซึ่งเป็นสารเคมีจากกล้ามเนื้อหัวใจ
ถูกทำลาย และถูกปล่อยเข้าสู่กระแสเลือด
จำเป็นต้องพึงพาข้อมูลจากอาการแสดงต่าง ๆ, ประวัติเกี่ยวกับความเจ็บป่วย
และ ปัจจัยต่าง ๆ ที่ทำให้เกิดโรเส้นเลือด และหัวใจ และ
เพื่อยืนยันคำวินิจฉัย สิ่งที่แพทย์จะต้องทำ คื
o การตรวจคลื่นของหัวใจ (electrocardiogram (EKG)
o การตรวจร่างกาย โดยมุ่งสนใจไปที่หัวใจ และความดันโลหิตสู
o ตรวจเลือดหา serum cardiac markers ซึ่งเป็นสารเคมีจากกล้ามเนื้อหัวใจ
ถูกทำลาย และถูกปล่อยเข้าสู่กระแสเลือด
การตรวจอย่างอื่น ๆ อาจจำเป็นต้องทำ เช่น
o ทำ echocardiogram…เป็นการตรวจดูกล้ามเนื้อของหัวใจ และลิ้นหัวใจ
o ทำ Radionuclide imaging...เป็นการตรวจ scans ดูการไหลเวียนของเลือ
o ที่ไหลผ่านหัวใจ เพ่อตรวจดูตำแหน่งที่มีการไหลเวียนได้ไม่ดี ซึ่งเป็นการ
o ใช้สารกัมมันตภาพรังสี- radioactive isotope
o ทำ echocardiogram…เป็นการตรวจดูกล้ามเนื้อของหัวใจ และลิ้นหัวใจ
o ทำ Radionuclide imaging...เป็นการตรวจ scans ดูการไหลเวียนของเลือ
o ที่ไหลผ่านหัวใจ เพ่อตรวจดูตำแหน่งที่มีการไหลเวียนได้ไม่ดี ซึ่งเป็นการ
o ใช้สารกัมมันตภาพรังสี- radioactive isotope
เมื่อเกิดขึ้นแล้ว คาดว่าจะเป็นนานเท่าใด (Expected Duration)
อาการของกล้ามเนื้อหัวใจถูกทำลาย จะเกิดนานเท่าใด
จะมีความแตกต่างกันระหว่างตัวคนไข้เอง
มีประมาณ 15 % ของคนไข้ที่เป็นโรค heart attack ไม่เคยเดินทางไปถึงโรงพยาบาล
เพื่อการรักษาเลย คนไข้จะเสียชีวิตทันที หลังจากอาการเกิดขึ้น
จะมีความแตกต่างกันระหว่างตัวคนไข้เอง
มีประมาณ 15 % ของคนไข้ที่เป็นโรค heart attack ไม่เคยเดินทางไปถึงโรงพยาบาล
เพื่อการรักษาเลย คนไข้จะเสียชีวิตทันที หลังจากอาการเกิดขึ้น
การป้องกัน (Prevention)
ถ้าท่านสามารถช่วยป้องกันไม่ให้เกิดภาวะ heart attack
โดยการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ ที่ทำให้เกิดเส้นเลือดตีบแคบ
เช่น ระดับไขมัน cholesterol สูง,ความดันโลหิตสง, สูบบุหรี่, และ โรคเบาหวาน
โดยการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ ที่ทำให้เกิดเส้นเลือดตีบแคบ
เช่น ระดับไขมัน cholesterol สูง,ความดันโลหิตสง, สูบบุหรี่, และ โรคเบาหวาน
ถ้าท่านมระดับไขมัน cholesterol สูง...
ท่านจำเป็นต้องปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์ ด้วยการรับทานอาหารสุขภาพ
ซึ่งไม่มีไขมัน และ cholesterol ต่ำ และ ถ้าจำเป็น ท่านต้องรับทานยาลดระดับไขมัน
ถ้าความดันโลหิตสูง ท่านต้องรับทานยาลดระดับความดัน และ
รับทานอาหารที่ได้รับการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสม
หากท่านสูบบุหรี่ ท่านต้องหยุดบุหรี่เสีย
ท่านจำเป็นต้องปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์ ด้วยการรับทานอาหารสุขภาพ
ซึ่งไม่มีไขมัน และ cholesterol ต่ำ และ ถ้าจำเป็น ท่านต้องรับทานยาลดระดับไขมัน
ถ้าความดันโลหิตสูง ท่านต้องรับทานยาลดระดับความดัน และ
รับทานอาหารที่ได้รับการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสม
หากท่านสูบบุหรี่ ท่านต้องหยุดบุหรี่เสีย
ถ้าท่านเป็นเบาหวาน ท่านต้องควบคุมระดับน้ำตาลให้ไกล้ปกติ
ซึ่งประกอบด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม, ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ,
และ ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ซึ่งประกอบด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม, ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ,
และ ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
การรักษา (Treatment)
ในการรักษาคนไข้ที่ตกอยู่ในภาวะ heart attack...
ย่อมขึ้นกับว่า สภาพของคนไข้เป็นอย่างไร และเขามีปัจจัยเสี่ยงต่อการทำ
ให้เกิดการเสียชีวิตอย่าฉับพลันได้หรือไม่
โดยปกติ แพทย์จะให้คนไข้เคี้ยวแอสไพรินในห้องปฏิบัติฉุกเฉินนั้นแหละ
เพราแอสไพรินสามารถช่วยป้องกันไม่ให้เลือดจับตัวเป็นก้อนเลือดได้
ย่อมขึ้นกับว่า สภาพของคนไข้เป็นอย่างไร และเขามีปัจจัยเสี่ยงต่อการทำ
ให้เกิดการเสียชีวิตอย่าฉับพลันได้หรือไม่
โดยปกติ แพทย์จะให้คนไข้เคี้ยวแอสไพรินในห้องปฏิบัติฉุกเฉินนั้นแหละ
เพราแอสไพรินสามารถช่วยป้องกันไม่ให้เลือดจับตัวเป็นก้อนเลือดได้
คนไข้จะได้รับออกซิเจน, ลดความเจ็บปวดทรวงอกด้วย morphine
ให้ยาในกลุ่ม beta-blockers เพื่อลดปริมาณความต้องการออกซิเจนของหัวใจ
และ ถ้าความดันโลหิตไม่ลดต่ำมากนัก ยา nitroglycerin
สามารถช่วยเพิ่มเลือดไหลสู่หัวใจได้ชั่วขณะ
ให้ยาในกลุ่ม beta-blockers เพื่อลดปริมาณความต้องการออกซิเจนของหัวใจ
และ ถ้าความดันโลหิตไม่ลดต่ำมากนัก ยา nitroglycerin
สามารถช่วยเพิ่มเลือดไหลสู่หัวใจได้ชั่วขณะ
ในขณะคนไข้อยู่ในโรงพยาบาล...
ในแต่ละวัน คนไข้จะได้รับยา beta-blockers,
ACE (angiotensin-converting enzyme) Inhibitors,
ซึ่งสามารถช่วยให้หัวใจทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ, ลดความดันโลหิตลง,
ให้แอสไพริน, และให้ยาลดไขมัน โดยไม่คำนึงว่า ระดับไขมันสูงหรือไม่
ในแต่ละวัน คนไข้จะได้รับยา beta-blockers,
ACE (angiotensin-converting enzyme) Inhibitors,
ซึ่งสามารถช่วยให้หัวใจทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ, ลดความดันโลหิตลง,
ให้แอสไพริน, และให้ยาลดไขมัน โดยไม่คำนึงว่า ระดับไขมันสูงหรือไม่
ถ้าคนไข้เป็นโรค heart attack อย่างแน่นอน,
คนไข้จะพิจารณารักษาด้วยกรรมวิธี reperfusion โดยมีเป้าหมาย
เพื่อทำให้การไหลเวียนของเลือดสู่กล้ามเนื้อหัวใจกลับสู่สภาพเดิมให้เร็วที่สุด
เพื่อจำกัดไม่ให้กล้ามเนื้อหัวใจถูกทำลายอย่างถาวร
คนไข้จะพิจารณารักษาด้วยกรรมวิธี reperfusion โดยมีเป้าหมาย
เพื่อทำให้การไหลเวียนของเลือดสู่กล้ามเนื้อหัวใจกลับสู่สภาพเดิมให้เร็วที่สุด
เพื่อจำกัดไม่ให้กล้ามเนื้อหัวใจถูกทำลายอย่างถาวร
Reperfusion สามารถกระทำได้ด้วยการใช้ยาสลายก้อนเลือด เรียก thrombolytic agents
ซึ่งประกอบด้วย plasminogen activator (tPA), streptokinase (Streptase)
และ Anisoylated plasminogen streptolinase activator complex (APSAC)
และยาเหล่านี้ มักจะถูกนำมาใช้ ถ้าเราไม่สามารถนำคนไข้ไปยังโรงพยาบาล
เพื่อทำ angioplasty ได้ทัน
นอกเหนือจากนั้น การรักษาคนไข้ที่เป็น heart attack
ยังขึ้นกับภาวะแทรกซ้อนอีกด้วย เช่น
ยาที่จำเป็นต่อการรักษาการเต้นของหัวใจทีผิดปกติ (cardiac arrhythmias),
ความดันลดต่ำ (low blood pressure), และหัวใจวาย (congestive heart failure)
ยังขึ้นกับภาวะแทรกซ้อนอีกด้วย เช่น
ยาที่จำเป็นต่อการรักษาการเต้นของหัวใจทีผิดปกติ (cardiac arrhythmias),
ความดันลดต่ำ (low blood pressure), และหัวใจวาย (congestive heart failure)
เราควรไปพบแพทย์เมื่อใด
ทานต้องไปพบแพทย์ทันที เมื่อเกิดมีอาการเจ็บหน้าอก
แม้ว่า มันเป็นอาการของอาหารไม่ย่อยก็ตามที...
หรือ อายุยังน้อยเกินที่จะเกิดโรคดังกล่าวได้ ถ้าเราสามารถให้การรักษาได้ทัน
สามารถลดโอกาสไม่ให้กล้ามเนื้อหัวใจถูกทำลายเพิ่มขึ้น
ผลจากการทำ reperfusion จะดีที่สุด คือต้องทำภายในสามสิบนาทีหลังเกิดอาการ
แม้ว่า มันเป็นอาการของอาหารไม่ย่อยก็ตามที...
หรือ อายุยังน้อยเกินที่จะเกิดโรคดังกล่าวได้ ถ้าเราสามารถให้การรักษาได้ทัน
สามารถลดโอกาสไม่ให้กล้ามเนื้อหัวใจถูกทำลายเพิ่มขึ้น
ผลจากการทำ reperfusion จะดีที่สุด คือต้องทำภายในสามสิบนาทีหลังเกิดอาการ
การพยากรณ์โรค (Prognosis)
ประมาณ 15% ของคนไข้ที่ทรมานจาก heart attack
จะตายก่อนเดินทางถึงโรงพยาบาล และอีก 15 % จะเสียชีวิตเมื่อเดินทางถึงโรงพยาบาล
ส่วนที่เหลืออีก 70 % จะมีชีวิตภายหลังเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
และในจำนวนนี้ มีประมาณ 4 % ( 1 ใน 25 ) จะตายภายในหนึ่งปี
หลังจากถูกจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล
จะตายก่อนเดินทางถึงโรงพยาบาล และอีก 15 % จะเสียชีวิตเมื่อเดินทางถึงโรงพยาบาล
ส่วนที่เหลืออีก 70 % จะมีชีวิตภายหลังเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
และในจำนวนนี้ มีประมาณ 4 % ( 1 ใน 25 ) จะตายภายในหนึ่งปี
หลังจากถูกจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล
อย่างไรก็ตาม ความเสี่ยงในคนทุกอายุ จะไม่เท่ากัน
ยกตัวอย่าง คนไข้ที่มีอายุแก่กว่า 65 จะมีอัตราการเสียชีวิต 20 % ภายในเดือนแรก
ที่เกิดมีประวัติ heart attack และ พบประมาณ 35 % ภายในปีแร
ยกตัวอย่าง คนไข้ที่มีอายุแก่กว่า 65 จะมีอัตราการเสียชีวิต 20 % ภายในเดือนแรก
ที่เกิดมีประวัติ heart attack และ พบประมาณ 35 % ภายในปีแร
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น